เอกภพ


สาระการเรียนรู้

1. เอกภพ
2. ระบบสุริยะ
3. มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
4. เทคโนโลยีอวกาศ

ตัวชี้วัด

1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายส่วนประกอบของระบบสุริยะและปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก

2.ระบุตำแหน่งและอธิบายลักษณะของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

3. สืบค้นข้อมูลและอธิบายส่วนประกอบของกาแล็กซีและเอกภพ

4. อ่านแผนที่ดาว สังเกตและอธิบายกลุ่มดาวฤกษ์และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จาก ตำแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์

5. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า  สภาวะอากาศ    ทรัพยากรธรรมชาติ   และที่ใช้ในการสื่อสาร

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา

1. มีระเบียบวินัยในตนเอง
2. มีความรับผิดชอบ
3. มีความเมตตากรุณา
4. มีความซื่อสัตย์ สุจริต
5. มีมารยาท สมกับความเป็นไทย
6.ใช้สิ่งของและทรัพย์สินอย่างประหยัด ทั้งของตนเองและสังคม

กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. กระบวนการทดลอง
2. การสืบค้นข้อมูล
3. กระบวนการคิด

สาระสำคัญ

ดวงดาวต่างๆที่อยู่ในท้องฟ้าจะรวมกันเป้นกลุ่มๆเรียกว่าดาราจักร หรือกาแล็กซี่ และดวงดาวที่มองเห็นในท้องฟ้าจำแนกออกเป็นดาวฤกษ์และดาวเคราะห์  ซึ่งสมารถสังเกตได้ง่ายด้วยตาเปล่า ในเอกภพมีดาราจักรอยู่มากมาย ระบบสุริยะเป็นส่วนหนึ่งของดาราจักรทางช้างเผือกที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางโดยมีดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหางและอุกกาบาตโคจรรอบดวงอาทิตย์

โลกและดาวอื่นๆที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ซึ่งโคจรรอบดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ เรียกว่าดาวเคราะห์  ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ เรียกว่าดาวเคราะห์วงใน ส่วนดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่ห่างจากวงโคจรของโลกออกไปรียกว่าดาวเคราะห์วงนอก  คนบนโลกมีโอกาสเห็นดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอกในเวลาและตำแหน่งที่แตกต่างกัน จากการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ

มนุษย์ได้พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับจักรวาลและอวกาศโดยมีโครงการสำรวจอวกาศ ซึ่งก่อให้ผลทางตรงและทางอ้อม เช่น การสื่อการการคมนาคม การสำรวจทรัพยากรโลก การเกษตร การแพทย์ และด้านอื่น ๆอีกมากมาย

สรุปความรู้และทบทวนบทเรียนก่อนสอบ

อ่านสรุปความรู้และทบทวนความรู้ก่อนสอบปลายภาค2/62 ทางนี้ได้เลยนะคะ

ติวโอเน็ตดาราศาสตร์.ppt

เอกภพ

ขอบคุณ https://www.youtube.com/watch?v=xdNHto0lh8s#t=47

ดูวีดิโอ กำเนิดเอกภพ

ขอขอบคุณ….http://www.youtube.com/watch?v=-3-bL9kN2kU

http://www.youtube.com/watch?v=fxjJy8FSFwk&feature=related

ระบบสุริยะ

ใบกิจกรรมที่ 1

ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลของดาวประจำวันเกิด และดวงดาวในจักรราศีประจำเดือนเกิดของคนเอง เช่น รุ่ง เกิดวันอาทิตย์ ที่ 7  กันยายน ก็ให้สืบค้นข้อมูลของดวงอาทิตย์ และกลุ่มดาวราศีสิงห์ เป็นต้น จากนั้นก็นำข้อมูลมาโพสต์ตอบในบล็อกด้านล่างนี้ให้เสร็จก่อนวันที่ 21 พ.ย. 56 นี้

กลุ่มดาวจักรราศี

ลิงก์เข้าศึกษากลุ่มดาวจักรราศี 12 ราศีจากเว็ป

http://phuketindex.com/travel/photo-stories/other/s-zodiac/

กลุ่มดาวกับชีวิต

การใช้แผนที่ดาว

มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์

เทคโนโลยีอวกาศ

แบบฝึกหัด

เกี่ยวกับ jiraporn07

I'm teacher.
ข้อความนี้ถูกเขียนใน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ คั่นหน้า ลิงก์ถาวร

321 ตอบกลับที่ เอกภพ

  1. ด.ช.ธนภัทร ใหม่ต๊ะ เลขที่8 3/3 พูดว่า:

    กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ หรือ กลุ่มดาวกุมภ์ เป็นกลุ่มดาวจักรราศีในแนวเส้นสุริยวิถีซึ่งเป็นที่รู้จักมาช้านานกลุ่มหนึ่ง กลุ่มดาวนี้อยู่ในบริเวณที่เรียกกันว่าทะเลท้องฟ้า ซึ่งได้ชื่อมาจากการที่กลุ่มดาวหลายกลุ่มในบริเวณนี้มีชื่อเกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น กลุ่มดาววาฬ กลุ่มดาวปลา กลุ่มดาวแม่น้ำ เป็นต้น บางครั้งสายน้ำของกลุ่มดาวแม่น้ำจะถูกวาดราวกับว่าไหลออกจากหม้อน้ำ (คนโท) ของกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ

  2. ด.ญจุฑาทิพย์ แสวงงาม เลขที่ 17 ม. 3/1 พูดว่า:

    กลุ่มดาวปู หรือ กลุ่มดาวกรกฎ (♋) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี มีขนาดเล็กและไม่สว่าง อยู่ระหว่างกลุ่มดาวคนคู่ทางทิศตะวันตก และกลุ่มดาวสิงโตทางทิศตะวันออก ทางเหนือคือกลุ่มดาวแมวป่า ทางใต้ คือ กลุ่มดาวหมาเล็กและกลุ่มดาวงูไฮดรา

    วันอาทิตย์
    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต
    ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และธาตุอื่น ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ) ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอกว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลำดับหลัก ผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล ไม่ยุบตัวหรือขยายตัว
    ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากศูนย์กลางดาราจักรทางช้างเผือกเป็นระยะทางโดยประมาณ 26,000 ปีแสง ใช้เวลาโคจรครบรอบดาราจักรประมาณ 225-250 ล้านปี มีอัตราเร็วในวงโคจร 215 กิโลเมตรต่อวินาที หรือ 1 ปีแสง ทุก ๆ 1,400 ปี[4]

  3. ด.ช.ฑีฆายุ สุขสม เลขที่ 1 ม. 3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวอังคาร (อังกฤษ: Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม “ดาวแดง” เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา

    ดาวประจำราศี
    ราศีพิจิก หรือ ราศีพฤศจิก [พฺรึด-สะ-จิก] (อังกฤษ: Scorpius, Scorpio จากละติน: scorpius, scorpiō แปลว่า “แมงป่อง”) เป็นราศีที่ 8 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีตุลกับราศีธนู มีสัญลักษณ์เป็นแมงป่อง (บางตำราเป็นนกอินทรีหรืองู) ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีพิจิกนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 24 ตุลาคม ถึง 22 พฤศจิกายน ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 พฤศจิกายน ถึง 15 ธันวาคม

  4. นายทยากร อุปปิง เลขที่ 2 ม. 3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะ
    ห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน(เรียกว่า คาบไซโนดิก)

    ดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวสิงห์อยู่ในซีกฟ้าด้านเหนือ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ที่สว่างมาก 1 ดวง คือ ดาวหัวใจสิงห์ (เรกิวลุส) และ ดาวที่สว่างรองลงมาอีกอย่างน้อย 8 ดวง เรียงเป็นรูปสิงโตซึ่งกำลังหมอบอยู่ ดาวหัวใจสิงห์และดาวอีก 5 ดวง คือ ดวงที่5 ถึงดวงที่ 9 เรียงกันคล้ายรูปเคียวเกี่ยวข้าวหรือเครื่องหมายคำถามเขียนกลับบริเวณหัวสิงโต ดาวดวงที่ 2, 3, 4 ประกอบ ขึ้นเป็นด้านท้ายของสิงโต โดยมีดวงที่ 2 อยู่ตนงหาวสิงโต จึงมีชื่อเรียกว่า ดาวหางสิงห์ (ดาวเดเนบโบลา)

  5. พูดว่า:

    เกิดวันอาทิตย์ ที่3 ธันวาคม 2543
    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุดและสำคัญต่อโลก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก จนทำให้ก๊าซไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นก๊าซฮีเลียม และแผ่พลังงานออกมาอย่างมหาศาล เป็นความร้อนและแสงสว่าง เราเรียกปฏิกิริยานี้ว่า “ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน”
    ราศีพิจิก
    กลุ่มดาวราศีพิจิก คือ กลุ่มดาวแมงป่อง กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มกาวใน 12 ราศี กลุ่มเดียวที่มีรูปร่างเหมาะสมเหมือน ชื่อที่สุด มีส่วนหัว ส่วนตัว ส่วนหาง และจงอยของหางเหมือนแมงป่องจริง ๆ
    กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มดาวที่สวยงามที่สุด ในบรรดากลุ่มดาว 12 ราศี ดาวฤกษ์ Antares ซึ่งเป็นหัวใจของแมงป่องมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 400 ล้านไมล์ กลุ่มดาวแมงป่อง จะเห็นอยู่ตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 20 กรกฎาคม ในต้นเดือนพฤศจิกายน พอดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป จะเห็นกลุ่มดาวแมงป่อง ทางขอบฟ้าทิศตะวันตกใกล้จะตกจากขอบฟ้าไป ในตอนต้นเดือนกุมภาพันธ์ จะเห็นอยู่เหนือขอบฟ้าทิศตะวันออก เมื่อเวลาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น นักเรียนที่ตื่นท่องหนังสือเตรียมสอบไล่ ถ้าดูจะสังเกตเห็นทุกคน กลุ่มดาวแมงป่อง เป็นกลุ่มดาวที่มนุษย์รู้จักมาแต่ดึกดำบรรพ์ การใช้ชื่อว่ากลุ่มดาว สคอร์ – ปี – อุส (Scorpius) เพราะในสมัยโบราณ เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ ปรากฏมาอยู่ในกลุ่มดาวนี้ ปรากฏว่าในประเทศอิยิปต์ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บใด ๆ เกิดขึ้นเลย
    เทพนิยายโบราณกล่าวถึงกลุ่มดาวนี้ว่า มันคือ แมงป่องยักษ์ ผู้สามารถพิชิต นายพรานใหญ่ ออไรออน (Orion) ซึ่งเป็นนายของบรรดาสัตว์บนโลกให้ถึง แก่ความตายได้ โดยแมงป่องตัวนี้ ถูกพระนางจูโน คนขี้อิจฉาใช้ไปต่อยที่ ข้อเท้านายพราน จนถึงแก่ความตาย

  6. ด.ช.พิพัฒน์ เถิงคำ ม.3/1 เลขที่ 5 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น

    ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้

    ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน
    ดาวประจำราศรี
    ราศีตุล หรือ ราศีดุล[1] (อังกฤษ: Libra จากละติน: lībra แปลว่า “คันชั่ง, ตราชู”) เป็นราศีที่ 7 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีกันย์กับราศีพิจิก มีสัญลักษณ์เป็นคันชั่งหรือตราชู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีตุลนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 24 กันยายน ถึง 23 ตุลาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ตุลาคม ถึง 15 พฤศจิกายน

  7. ด.ญ. อริศรา แม่นดาว เลขที่ 30 ม.3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุดและสำคัญต่อโลก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก จนทำให้ก๊าซไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นก๊าซฮีเลียม และแผ่พลังงานออกมาอย่างมหาศาล เป็นความร้อนและแสงสว่าง เราเรียกปฏิกิริยานี้ว่า “ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน”
    ดาวประจำราศีธนู
    กลุ่มดาวราศีธนู คือกลุ่มดาวคนถือธนู กลุ่มดาวกลุ่มนี้อยู่ในแนวทางช้างเผือก กลุ่มดาวคนถือธนูได้ชื่อว่า กลุ่มดาวผู้ฆ่า กลุ่มดาววัวตัวผู้เพราะเมื่อกลุ่มดาวนี้ขึ้น กลุ่มดาววัวจะตก หรือเมื่อ กลุ่มดาวนี้ตก กลุ่มดาววัวจะขึ้น กลุ่มดาวคนถือธนูนี้มีรูปร่างคล้ายกาน้ำ ดาวกลุ่มนี้อยู่ทางทิศตะวันออกของกลุ่มดาวแมงป่อง
    กลุ่มดาวราศีธนู เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ติดกับกลุ่มดาวแมงป่อง ตามนิยายดาวชาวกรีกกล่าวว่าดาวราศีธนูเป็นกลุ่มดาวแทน ชีรอน (Chiron) ซึ่งมีรูปครึ่งคนครึ่งม้า เป็นบุตรพระเสาร์และพระนาง Philyra ตามนิยายกล่าวว่า Chiron แปลงตัวเป็นสัตว์ประหลาดครึ่งคนครึ่งม้า เพื่อหนีภรรยาขี้หึงของเขา Chiron เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเด่นมากในสมัยนั้น เขาเป็นทั้งแพทย์ นักดนตรี และ นักการศึกษา เขาเป็นผู้สอนให้รู้ชื่อของหญ้าหรือพืชต่าง ๆ ที่ใช้ทำยา เป็นนักการ ศึกษาที่ทรงคุณวุฒิ มีลูกศิษย์มากมาย แต่ผลที่สุด Chiron ก็ตายเพราะยาพิษ คือถูกศรพิษกรีดผิวหนังถึงแก่ความตาย

  8. ด.ช.วิจารณ์ หล่อวงค์ ม.3/2เลขที่ 11 พูดว่า:

    ดาวประจำราศี
    ราศีกันย์ (อังกฤษ: Virgo จากละติน: virgō แปลว่า “หญิงพรหมจรรย์”) เป็นราศีที่ 6 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีสิงห์กับราศีตุล มีสัญลักษณ์เป็นหญิงพรหมจรรย์ ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีกันย์นั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม ถึง 23 กันยายน ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 กันยายน ถึง 15 ตุลาคม

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวศุกร์ (อังกฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 (ฉบับแก้ไข ลำดับที่ 4 และ ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ตามทฤษฎีของโคเปอร์นิคัส และ ทฤษฎีของเคปเลอร์) ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า “น้องสาว” ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด
    สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า “ดาวประจำเมือง” และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า “ดาวประกายพรึก” หรือ “ดาวรุ่ง”

  9. นาย ธนากร เครือปลูก เลขที่3 3/1 พูดว่า:

    เกิดวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ราศี กุมภ์
    เกิดวันจันทร์ ดวงจันทร์
    กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ หรือ กลุ่มดาวกุมภ์ เป็นกลุ่มดาวจักรราศีในแนวเส้นสุริยะวิถีซึ่งเป็นที่รู้จักมาช้านานกลุ่มหนึ่ง กลุ่มดาวนี้อยู่ในบริเวณที่เรียกกันว่าทะเลท้องฟ้า ซึ่งได้ชื่อมาจากการที่กลุ่มดาวหลายกลุ่มในบริเวณนี้มีชื่อเกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น กลุ่มดาววาฬ กลุ่มดาวปลา กลุ่มดาวแม่น้ำ เป็นต้น บางครั้งสายน้ำของกลุ่มดาวแม่น้ำจะถูกวาดราวกับว่าไหลออกจากหม้อน้ำ ของกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันเมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน

  10. ด.ญ.ขวัญชล ประจันทัง ม.3/2 เลขที่20 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด ดาวพฤหัสบดี
    ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นวัตถุท้องฟ้าที่มีความสว่างมากเป็นอันดับที่ 4 รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวศุกร์ และเป็นที่รู้จักกันมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดาวพฤหัสบดีถูกสำรวจเป็นครั้งแรกโดยยานไพโอเนียร์ 10 ในปี พ.ศ.2516 ติดตามด้วย ไพโอเนียร์ 11, วอยเอเจอร์ 1, วอยเอเจอร์ 2, ยูลิซิส และกาลิเลโอ ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์แก๊สซึ่งบรรยากาศหนาแน่น มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจน 90% และฮีเลียม 10% ปะปนด้วยมีเทน น้ำ และแอมโมเนียจำนวนเล็กน้อย ลึกลงไปด้านล่างเป็นแมนเทิลชั้นนอกซึ่งประกอบไปด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมเหลว และแมนเทิลชั้นในที่ประกอบไปด้วยไฮโดรเจนซึ่งมีสมบัติเป็นโลหะ และแก่นกลางที่เป็นหินแข็งมีขนาดเป็น 2 เท่าของโลก
    ดาวพฤหัสบดีมีขนาดใหญ่กว่าโลกมาก แต่หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลาไม่ถึง 10 ชั่วโมง แรงหนีศูนย์กลางเหวี่ยงให้ดาวมีสัณฐานเป็นทรงแป้น และทำให้การหมุนเวียนของชั้นบรรยากาศแบ่งเป็นแถบสีสลับกัน แถบเหล่านี้เป็นเซลล์การพาความร้อน (Convection cell) แถบสีอ่อนคืออากาศร้อนยกตัว แถบสีเข้มคืออากาศเย็นจมตัวลง นอกจากนั้นยังมีจุดแดงใหญ่ (Great Red Spot) เป็นรูปวงรีขนาดใหญ่ซึ่งมีอาณาบริเวณกว้าง 25,000 กิโลเมตร สามารถบรรจุโลกได้สองดวง จุดแดงใหญ่เป็นพายุหมุนซึ่งมีอายุมากกว่า 300 ปี

    ดาวประจำราศี
    ราศีธนู (อังกฤษ: Sagittarius จากละติน: sagittārius แปลว่า “นักยิงธนู”) เป็นราศีที่ 9 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีพิจิกกับราศีมกร มีสัญลักษณ์เป็นเซนทอร์กำลังยิงธนู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีธนูนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน ถึง 21 ธันวาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ธันวาคม ถึง 14 มกราคม

  11. ด.ญ.สิริยา สิงห์แก้ว ม.3/2 เลขที่30 พูดว่า:

    ดาวประจำราศี
    ราศีธนู (อังกฤษ: Sagittarius จากละติน: sagittārius แปลว่า “นักยิงธนู”) เป็นราศีที่ 9 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีพิจิกกับราศีมกร มีสัญลักษณ์เป็นเซนทอร์กำลังยิงธนู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีธนูนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน ถึง 21 ธันวาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ธันวาคม ถึง 14 มกราคม

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน[nb 1] เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน[nb 2] (เรียกว่า คาบไซโนดิก)
    เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์มีค่าประมาณ 3,474 กิโลเมตร[1] หรือประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ดังนั้นพื้นผิวของดวงจันทร์มีน้อยกว่า 1 ใน 10 ของพื้นผิวของโลก (ประมาณ 1 ใน 4 ของผืนทวีปของโลกเท่านั้น คิดเป็นขนาดใหญ่ประมาณรัสเซีย แคนาดา กับสหรัฐอเมริกา รวมกัน) มวลรวมของดวงจันทร์คิดเป็นประมาณ 2% ของมวลของโลก และแรงโน้มถ่วงเป็น 17% ของโลก
    สัญลักษณ์แทนดวงจันทร์คือ ☾ ปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) นีล อาร์มสตรอง และ บัซซ์ อัลดริน นักบินอวกาศขององค์การนาซา เป็นมนุษย์ 2 คนแรกที่เหยียบลงบนพื้นดินของดวงจันทร์ กฎหมายอวกาศถือว่าดวงจันทร์เป็นสมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ ตามสนธิสัญญาที่ใช้บังคับกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์ ดวงดาว และวัตถุอวกาศอื่นๆ ค.ศ. 1979

  12. ด.ญ.กนกววณ ใจกล้า ม.3/2 เลขที่ 19 พูดว่า:

    เลขที่ผิดค่ะครู

  13. ด.ญ.กนกววณ ใจกล้า ม.3/2 เลขที่ 20 พูดว่า:

    ดาวประจำราศี
    ราศีธนู (อังกฤษ: Sagittarius จากละติน: sagittārius แปลว่า “นักยิงธนู”) เป็นราศีที่ 9 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีพิจิกกับราศีมกร มีสัญลักษณ์เป็นเซนทอร์กำลังยิงธนู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีธนูนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน ถึง 21 ธันวาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ธันวาคม ถึง 14 มกราคม

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน[nb 1] เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน[nb 2] (เรียกว่า คาบไซโนดิก)
    เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์มีค่าประมาณ 3,474 กิโลเมตร[1] หรือประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ดังนั้นพื้นผิวของดวงจันทร์มีน้อยกว่า 1 ใน 10 ของพื้นผิวของโลก (ประมาณ 1 ใน 4 ของผืนทวีปของโลกเท่านั้น คิดเป็นขนาดใหญ่ประมาณรัสเซีย แคนาดา กับสหรัฐอเมริกา รวมกัน) มวลรวมของดวงจันทร์คิดเป็นประมาณ 2% ของมวลของโลก และแรงโน้มถ่วงเป็น 17% ของโลก
    สัญลักษณ์แทนดวงจันทร์คือ ☾ ปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) นีล อาร์มสตรอง และ บัซซ์ อัลดริน นักบินอวกาศขององค์การนาซา เป็นมนุษย์ 2 คนแรกที่เหยียบลงบนพื้นดินของดวงจันทร์ กฎหมายอวกาศถือว่าดวงจันทร์เป็นสมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ ตามสนธิสัญญาที่ใช้บังคับกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์ ดวงดาว และวัตถุอวกาศอื่นๆ ค.ศ. 1979

  14. ด.ช.ฐาปนพงศ์ สารงาม ม.3/2 เลขที่ 3 พูดว่า:

    ดาวประจำราศี คือ ราศีเมถุน กลุ่มดาวคนคู่
    ลักษณะปรากฏและแนวทางขึ้นตก
    จุดที่ขึ้นคือประมาณกึ่งกลางของจุดทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะขึ้นคนคู่เอาเท้าขึ้นก่อน โดยเท้าเอียงไปทาง ใต้เล็กน้อย ลำตัวจึงไม่ตั้งตรงกับขอบฟ้า ทั้งคาสเตอร์และพอลลักซ์เอาหัวลง คาสเตอร์อยู่ทางซ้ายและพอลลักซ์อยู่ทางขวา
    เมื่อคาสเตอร์ขึ้นไปสูงสุด เราจะต้องหันหน้าไปทางทิศเหนือ แล้วแหงนหน้าขึ้นเป็นมุมเงยประมาณ 70 องศาจึงจะเห็น ในขณะ ที่พอลลักซ์อยู่เยื้องไปทางขวามือเป็นมุมเงย 75 องศา ณ ตำแหน่งนี้ คนคู่อยู่ในลักษณะนอนเกือบขนานกับขอบฟ้า โดยมีเท้าหันไปทาง ทิศตะวันตก คาสเตอร์อยู่ทาทิศเหนือของพอลลักซ์
    เมื่อขึ้นไปสูงสุดแล้วกลุ่มดาวคนคู่จะคล้อยต่ำลงไปทางทิศตะวันตก โดยค่อย ๆ เอาเท้าลง ในที่สุดจะตกดินหรือลับขอบฟ้าตรงจุด กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันตกกับทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คาสเตอร์จะยืนเกือบตัวตรงกับขอบฟ้าและอยู่ทางขวามือของพอลลักซ์ เมื่อใกล้ ขอบฟ้าทางตะวันตกมักจะมองไม่เห็นดาวดวงอื่น นอกจากคาสเตอร์และพอลลักซ์ เพราะดาวอื่น ๆ สว่างน้อย ขณะนั้นพอลลักซ์จะอยู่สูง เป็นมุมเงย ประมาณ 20 องศา
    เวลาที่เห็น
    ในช่วงต้นเดือนมกราคมกลุ่มดาวคนคู่จะขึ้นเวลาหัวค่ำและตกตอนรุ่งเช้า ดังนั้นจึงเป็นระยะเวลาที่จะมีโอกาสเห็นดาวกลุ่มนี้ ได้นานกว่าเดือนอื่น ๆ แต่ช่วงปลายเดือนมิถุนายนถึงปลายเดือนกรกฎาคมจะมองไม่เห็นกลุ่มดาวคนคู่ เพราะขึ้นและตกพร้อม ๆ กับ ดวงอาทิตย์

    นิทานดวงดาว
    ซีอุสเกิดไปหลงรักนางเรดา มเหสีของพระราชาไทนดาริอุส (Tyndareus) แห่งเมืองสปาร์ต้า ซีอุสจึงวางแผนกับเฮอร์เมส ให้เฮอร์เมสแปลงกายเป็นอินทรีให้ไล่ตามตัวเองซึ่งแปลงกายเป็นหงส์ขาว (ซึ่งว่ากันว่ากลุ่มดาวหงส์หรือ Cygnus ก็คือรูปร่างของซีอุสที่กลายเป็นหงส์ขาวนี่เอง) เมื่อนางเรดาเห็นดังนั้นจึงเข้าไปช่วยโอบกอดหงส์ขาวไว้แล้วไล่อินทรีไปแล้วไม่นานนักนางเรดาก็คลอกลูกออกมาเป็นไข่สองใบ และในไข่แต่ละใบ ก็มีฝาแฝดชายหญิงอย่างละคู่อยู่ ได้แก่ คาสเตอร์กับคลิเทมเนสตร้า(Clytemnestra)ในไข่ใบแรก และ พอลลักซ์กับเฮเลน (Helen) ในไข่ใบที่สอง (ซึ่งนางเฮเลนที่ว่านี้ ก็คือนางเฮเลนที่เป็นต้นกำเนิดของการล่มสลายของเมืองทรอยนั่นเอง) คาสเตอร์กับพอลลักซ์เป็นพี่น้องที่รักกันมาก แต่ทว่าคาสเตอร์นั้นเป็นลูกของไทนดาริอุสที่เป็นมนุษย์จึงไม่ได้เป็นอมตะ ผิดกับพอลลักซ์ที่เป็นบุตรของซีอุสจึงไม่แก่ไม่ตาย คาสเตอร์และพอลลักซ์ ซึ่งทั้งสองก็เป็นผู้กล้าที่มีชื่อเสียงมาก โดยได้เคยรวมเรืออาร์โก้ไปกับเจสันเพื่อเอาขนแกะทองคำด้วย
    เรื่องเล่าเกี่ยวกับการตายของคาสเตอร์มีอยู่ว่า ทั้งสองได้ไปร่วมงานแต่งงานระหว่างคู่ฝาแฝดชายนามว่าอิดั(Idas)และไลนเซอุส(Lynceus) กับฝาแฝดหญิงคือนางฟีเบ (Phoebe) และนางฮิลาเอย์ร่า (Hilaeira) ไม่รู้ว่าเมาอะไร ทำให้คาสเตอร์กับพลอลักซ์กลับไปฉุดเอาเจ้าสาวทั้งสองมา ทำให้เกิดการต่อสู้กับอิดัสและไลนเซอุส ส่งผลให้คาสเตอร์ตาย (อิดัสกับไลนเซอุสก็ตายด้วย) พอลลักซ์เศร้าเสียใจมาก แต่ด้วยว่าตนเป็นอมตะไม่สามารถตายร่วมกับคาสเตอร์ได้ จึงร้องขอกับเหล่าเทพว่า ให้ตนสามารถแบ่งความเป็นอมตะแก่คาสเตอร์ หลังจากนั้นทั้งสองจึงอยู่บนสวรรค์ 1 วันและจะไปอยู่ในแดนแห่งความตาย 1 วัน สลับกันไป ซีอุสเห็นแก่มิตรภาพของทั้งสองจึงทำให้เกิดกลุ่มดาวราศีเมถุนขึ้นมา

    ดาวประจำวันเกิด คือ ดาวพฤหัสบดี
    ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของเทพเจ้าซุส
    ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้
    ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
    โดยทั่วไป ดาวพฤหัสบดีเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ในท้องฟ้า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวศุกร์ อย่างไรก็ตาม บางครั้งดาวอังคารก็ปรากฏสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี) จึงเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การค้นพบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ได้แก่ ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคัลลิสโต โดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการค้นพบวัตถุที่ไม่ได้โคจรรอบโลกเป็นครั้งแรก นับเป็นจุดที่สนับสนุนทฤษฎีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางที่เสนอโดยโคเปอร์นิคัส การออกมาสนับสนุนทฤษฎีนี้ทำให้กาลิเลโอต้องเผชิญกับการไต่สวน
    ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า สามารถเห็นได้ในรังสีอินฟราเรดทั้งจากกล้องโทรทรรศน์ที่พื้นโลกและจากยานกาลิเลโอ
    วงแหวนของดาวพฤหัสค่อนข้างมืด ซึ่งอาจประกอบด้วยเศษหินขนาดเล็ก และไม่พบน้ำแข็ง เหมือนที่พบในวงแหวนของดาวเสาร์ วัตถุที่อยู่ในวงแหวนของดาวพฤหัสอาจไม่อยู่ในวงแหวนนาน เนื่องจากแรงเหวี่ยงที่เกิดจากบรรยากาศและสนามแม่เหล็ก มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าวงแหวนได้วัตถุเพิ่มเติมจากฝุ่นที่เกิดจากอุกกาบาตตกชนดาวบริวารวงใน ซึ่งเนื่องจากพลังงานมหาศาลจากแรงดึงดูดขนาดใหญ่ของดาวพฤหัสบดี

  15. นิรนาม พูดว่า:

    ด.ช.ฐาปนพงศ์ สารงาม ม.3/2 เลขที่ 3
    ดาวประจำราศี คือ ราศีเมถุน กลุ่มดาวคนคู่
    ลักษณะปรากฏและแนวทางขึ้นตก
    จุดที่ขึ้นคือประมาณกึ่งกลางของจุดทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะขึ้นคนคู่เอาเท้าขึ้นก่อน โดยเท้าเอียงไปทาง ใต้เล็กน้อย ลำตัวจึงไม่ตั้งตรงกับขอบฟ้า ทั้งคาสเตอร์และพอลลักซ์เอาหัวลง คาสเตอร์อยู่ทางซ้ายและพอลลักซ์อยู่ทางขวา
    เมื่อคาสเตอร์ขึ้นไปสูงสุด เราจะต้องหันหน้าไปทางทิศเหนือ แล้วแหงนหน้าขึ้นเป็นมุมเงยประมาณ 70 องศาจึงจะเห็น ในขณะ ที่พอลลักซ์อยู่เยื้องไปทางขวามือเป็นมุมเงย 75 องศา ณ ตำแหน่งนี้ คนคู่อยู่ในลักษณะนอนเกือบขนานกับขอบฟ้า โดยมีเท้าหันไปทาง ทิศตะวันตก คาสเตอร์อยู่ทาทิศเหนือของพอลลักซ์
    เมื่อขึ้นไปสูงสุดแล้วกลุ่มดาวคนคู่จะคล้อยต่ำลงไปทางทิศตะวันตก โดยค่อย ๆ เอาเท้าลง ในที่สุดจะตกดินหรือลับขอบฟ้าตรงจุด กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันตกกับทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คาสเตอร์จะยืนเกือบตัวตรงกับขอบฟ้าและอยู่ทางขวามือของพอลลักซ์ เมื่อใกล้ ขอบฟ้าทางตะวันตกมักจะมองไม่เห็นดาวดวงอื่น นอกจากคาสเตอร์และพอลลักซ์ เพราะดาวอื่น ๆ สว่างน้อย ขณะนั้นพอลลักซ์จะอยู่สูง เป็นมุมเงย ประมาณ 20 องศา
    เวลาที่เห็น
    ในช่วงต้นเดือนมกราคมกลุ่มดาวคนคู่จะขึ้นเวลาหัวค่ำและตกตอนรุ่งเช้า ดังนั้นจึงเป็นระยะเวลาที่จะมีโอกาสเห็นดาวกลุ่มนี้ ได้นานกว่าเดือนอื่น ๆ แต่ช่วงปลายเดือนมิถุนายนถึงปลายเดือนกรกฎาคมจะมองไม่เห็นกลุ่มดาวคนคู่ เพราะขึ้นและตกพร้อม ๆ กับ ดวงอาทิตย์

    นิทานดวงดาว
    ซีอุสเกิดไปหลงรักนางเรดา มเหสีของพระราชาไทนดาริอุส (Tyndareus) แห่งเมืองสปาร์ต้า ซีอุสจึงวางแผนกับเฮอร์เมส ให้เฮอร์เมสแปลงกายเป็นอินทรีให้ไล่ตามตัวเองซึ่งแปลงกายเป็นหงส์ขาว (ซึ่งว่ากันว่ากลุ่มดาวหงส์หรือ Cygnus ก็คือรูปร่างของซีอุสที่กลายเป็นหงส์ขาวนี่เอง) เมื่อนางเรดาเห็นดังนั้นจึงเข้าไปช่วยโอบกอดหงส์ขาวไว้แล้วไล่อินทรีไปแล้วไม่นานนักนางเรดาก็คลอกลูกออกมาเป็นไข่สองใบ และในไข่แต่ละใบ ก็มีฝาแฝดชายหญิงอย่างละคู่อยู่ ได้แก่ คาสเตอร์กับคลิเทมเนสตร้า(Clytemnestra)ในไข่ใบแรก และ พอลลักซ์กับเฮเลน (Helen) ในไข่ใบที่สอง (ซึ่งนางเฮเลนที่ว่านี้ ก็คือนางเฮเลนที่เป็นต้นกำเนิดของการล่มสลายของเมืองทรอยนั่นเอง) คาสเตอร์กับพอลลักซ์เป็นพี่น้องที่รักกันมาก แต่ทว่าคาสเตอร์นั้นเป็นลูกของไทนดาริอุสที่เป็นมนุษย์จึงไม่ได้เป็นอมตะ ผิดกับพอลลักซ์ที่เป็นบุตรของซีอุสจึงไม่แก่ไม่ตาย คาสเตอร์และพอลลักซ์ ซึ่งทั้งสองก็เป็นผู้กล้าที่มีชื่อเสียงมาก โดยได้เคยรวมเรืออาร์โก้ไปกับเจสันเพื่อเอาขนแกะทองคำด้วย
    เรื่องเล่าเกี่ยวกับการตายของคาสเตอร์มีอยู่ว่า ทั้งสองได้ไปร่วมงานแต่งงานระหว่างคู่ฝาแฝดชายนามว่าอิดั(Idas)และไลนเซอุส(Lynceus) กับฝาแฝดหญิงคือนางฟีเบ (Phoebe) และนางฮิลาเอย์ร่า (Hilaeira) ไม่รู้ว่าเมาอะไร ทำให้คาสเตอร์กับพลอลักซ์กลับไปฉุดเอาเจ้าสาวทั้งสองมา ทำให้เกิดการต่อสู้กับอิดัสและไลนเซอุส ส่งผลให้คาสเตอร์ตาย (อิดัสกับไลนเซอุสก็ตายด้วย) พอลลักซ์เศร้าเสียใจมาก แต่ด้วยว่าตนเป็นอมตะไม่สามารถตายร่วมกับคาสเตอร์ได้ จึงร้องขอกับเหล่าเทพว่า ให้ตนสามารถแบ่งความเป็นอมตะแก่คาสเตอร์ หลังจากนั้นทั้งสองจึงอยู่บนสวรรค์ 1 วันและจะไปอยู่ในแดนแห่งความตาย 1 วัน สลับกันไป ซีอุสเห็นแก่มิตรภาพของทั้งสองจึงทำให้เกิดกลุ่มดาวราศีเมถุนขึ้นมา

    ดาวประจำวันเกิด คือ ดาวพฤหัสบดี
    ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของเทพเจ้าซุส
    ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้
    ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
    โดยทั่วไป ดาวพฤหัสบดีเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ในท้องฟ้า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวศุกร์ อย่างไรก็ตาม บางครั้งดาวอังคารก็ปรากฏสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี) จึงเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การค้นพบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ได้แก่ ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคัลลิสโต โดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการค้นพบวัตถุที่ไม่ได้โคจรรอบโลกเป็นครั้งแรก นับเป็นจุดที่สนับสนุนทฤษฎีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางที่เสนอโดยโคเปอร์นิคัส การออกมาสนับสนุนทฤษฎีนี้ทำให้กาลิเลโอต้องเผชิญกับการไต่สวน
    ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า สามารถเห็นได้ในรังสีอินฟราเรดทั้งจากกล้องโทรทรรศน์ที่พื้นโลกและจากยานกาลิเลโอ
    วงแหวนของดาวพฤหัสค่อนข้างมืด ซึ่งอาจประกอบด้วยเศษหินขนาดเล็ก และไม่พบน้ำแข็ง เหมือนที่พบในวงแหวนของดาวเสาร์ วัตถุที่อยู่ในวงแหวนของดาวพฤหัสอาจไม่อยู่ในวงแหวนนาน เนื่องจากแรงเหวี่ยงที่เกิดจากบรรยากาศและสนามแม่เหล็ก มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าวงแหวนได้วัตถุเพิ่มเติมจากฝุ่นที่เกิดจากอุกกาบาตตกชนดาวบริวารวงใน ซึ่งเนื่องจากพลังงานมหาศาลจากแรงดึงดูดขนาดใหญ่ของดาวพฤหัสบดี

  16. เก็จมณี ครองมัจฉา ม.3/2 เลขที่18 พูดว่า:

    26/1/44
    กลุ่มดาวในราศีที่ 10 คือกลุ่มดาวราศีมังกรหรอกลุ่มดาวแพะมังกร กลุ่มดาวมังกรอยู่ตรงข้ามกับกลุ่มดาวราศีปู กลุ่มดาวนี้ส่วนใหญ่อยู่เลยไปทาง ทิศใต้ของเส้น Ecliptic อยู่ระหว่างกลุ่มดาวคนถือหม้อนี้และกลุ่มดาวราศีธนู ดาวกลุ่มนี้ไม่มีดาวที่สว่างสุกใส พอที่จะสังเกตเห็นได้ง่าย ๆ แต่ถ้ารวมกลุ่มดาวนี้ ทั้งกลุ่มเข้าด้วยกัน จะเห็นเป็นรูปสามเหลี่ยมฐานโค้งดาวกลุ่มนี้จะเห็นอยู่บนเส้น Meridian
    กลุ่มดาวนี้นักดาราศาสตร์เขาจินตนาการ เห็นเป็นมังกรหรือแพะทะเล คือ มีส่วนหัวเป็นแพะ ส่วนหางเป็นปลา กลุ่มดาวนี้มีความสำคัญต่อนักดาราศาสตร์ และนักภูมิศาสตร์มากเหมือนกัน เพราะกลุ่มดาวราศีมังกร (Capriconus) เป็นกลุ่มดาวที่เราเอาชื่อมาเรียกแถบเส้นรุ้งที่ 23 องศาใต้ได้ชื่อเช่นนี้

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวศุกร์ (Venus)เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า “น้องสาว” ของโลก วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า “ดาวประจำเมือง” และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า “ดาวประกายพรึก” หรือ “ดาวรุ่ง” อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน

  17. ด.ญ.กัญญาณัฐ ยะตา ม.3/1 เลขที่13 พูดว่า:

    -ดวงจันทร์
    เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน[nb 1] เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน[nb 2] (เรียกว่า คาบไซโนดิก)

    เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์มีค่าประมาณ 3,474 กิโลเมตร[1] หรือประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ดังนั้นพื้นผิวของดวงจันทร์มีน้อยกว่า 1 ใน 10 ของพื้นผิวของโลก (ประมาณ 1 ใน 4 ของผืนทวีปของโลกเท่านั้น คิดเป็นขนาดใหญ่ประมาณรัสเซีย แคนาดา กับสหรัฐอเมริกา รวมกัน) มวลรวมของดวงจันทร์คิดเป็นประมาณ 2% ของมวลของโลก และแรงโน้มถ่วงเป็น 17% ของโลก

    สัญลักษณ์แทนดวงจันทร์คือ ☾ ปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) นีล อาร์มสตรอง และ บัซซ์ อัลดริน นักบินอวกาศขององค์การนาซา เป็นมนุษย์ 2 คนแรกที่เหยียบลงบนพื้นดินของดวงจันทร์ กฎหมายอวกาศถือว่าดวงจันทร์เป็นสมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ ตามสนธิสัญญาที่ใช้บังคับกิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์ ดวงดาว และวัตถุอวกาศอื่นๆ ค.ศ. 1979
    -ราศีตุล
    หรือ ราศีดุล[1] (อังกฤษ: Libra จากละติน: lībra แปลว่า “คันชั่ง, ตราชู”) เป็นราศีที่ 7 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีกันย์กับราศีพิจิก มีสัญลักษณ์เป็นคันชั่งหรือตราชู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีตุลนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 24 กันยายน ถึง 23 ตุลาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ตุลาคม ถึง 15 พฤศจิกายน

  18. ด.ญ.ศุภธิดา สมควร ชั้นม.3/1 เลขที่28 พูดว่า:

    ดาวประจำราศรี
    กลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านระหว่างวันที่ 17 กันยายน ถึง วันที่ 1 พฤศจิกายน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์ใช้เวลาเคลื่อนที่ผ่านนานที่สุด คือ 46 วัน รองลงมาคือ กลุ่มดาววัว 39 วัน ประกอบด้วยดาวฤกษ์เรียงต่อกันอย่างน้อย 11 ดวง มีกลุ่มดาวที่สว่างมากอยู่ 6 ดวงเรียงกันเป็นรูปตัววาย ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด คือ ดาวสไปก้า ( SPICA ) เป็นดาวฤกษ์สีขาวเหลือง มีหมายถึง รวงข้าวสาลีที่หญิงสาวถือไว้ในมือซ้าย กลุ่มดาวหญิงสาว หรือกลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวอันดับที่หกของกลุ่มดาวจักรราศี มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากกลุ่มดาวงูไฮดรา (Hydra) กลุ่มดาวหญิงสาว อยู่ทางซีกฟ้าใต้ มีลำตัวทอดยาวขนานไปตามแนวสุริยวิถี (อยู่ด้านเหนือของสุริยะวิถี) มีดาวฤกษ์สุกสว่าง คือ ดาวรวงข้าว เป็นดาวฤกษ์ที่เห็นได้เด่นชัดและหาได้ง่าย โดยกลุ่มดาวหญิงสาว จะขึ้นไปสูงสุดกลางท้องฟ้า ประมาณเที่ยงคืนของเดือนเมษายน มีดาวที่สำคัญ ดังนี้ Spica ดาวรวงข้าว หรือดาว สไปกา อยู่ห่างจากโลกประมาณ 262 ปีแสง ดาวรวงข้าว อยู่ในตำแหน่งก้านของรวงข้าว ที่หญิงสาวถือไว้ด้วยมือซ้าย คำว่า Spica มาจากภาษาอารบิก หมายถึง ไม่สามารถสู้ได้ เนื่องจากไม่มีดาวฤกษ์ที่สว่างใดใกล้เคียงบริเวณนั้น
    ดาวประจำวันเกิด
    กลุ่มดาวในราศีที่ 6 หรือกลุ่มดาวราศีกันย์ คือ กลุ่มดาวหญิงพรหมจารีย์ กลุ่มดาวนี้อยู่ระหว่างกลุ่มดาวสิงห์โตกับกลุ่มดาวคันชั่ง มีดาวฤกษ์ที่สว่าง สุกใสอันดับที่ 16 ในท้องฟ้า ชื่อ สไปกา (Spica) ซึ่งแปลว่ารวงข้าว จากแผนที่ ดาวเก่าแก่ เขาเขียนรูปกล่มดาวนี้เป็นผู้หญิงสาวถือฟ่อนข้าวสาลีอยู่ในมือ
    ดาวกลุ่มนี้มีดาวสำคัญ เกี่ยวกับวิชา ดาราศาสตร์อยู่อย่างหนึ่งคือ จุดตัดของ เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า และเส้นอีคลิพดิคจุดที่ 2 ซึ่งเรียกว่า Autumnal Equinox (บางท่านเรียกวันสารทวิษุวัต แปลว่า วันที่ดวงอาทิตย์ ยกเข้าสู่ราศีตุลย์ ) นั้นอยู่ในกลุ่มดาวกลุ่มนี้ วันที่ 23 กันยายนเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลก ฝ่ายเหนือเริ่มวันฤดูใบไม้ร่วง วันนั้นกลางวันและกลางคืนเท่ากัน

  19. ด.ญ.ธินันท์ดา เครือสาร เลขที่24 ชั้น ม.3/2 พูดว่า:

    เกิดวันที่ 12 พฤษภาคม
    วันเสาร์ ( ดาวเสาร์ )
    กลุ่มดาววัว หรือ กลุ่มดาวพฤษภ (♉) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี ปรากฏเด่นชัดในค่ำคืนฤดูหนาว อยู่ระหว่างกลุ่มดาวแกะทางทิศตะวันตก และกลุ่มดาวคนคู่ทางทิศตะวันออก ทางเหนือคือกลุ่มดาวเพอร์ซิอัสและกลุ่มดาวสารถี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ คือ กลุ่มดาวนายพราน และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ คือ กลุ่มดาวแม่น้ำและกลุ่มดาวซีตัส
    ดาวเสาร์ (อังกฤษ: Saturn) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มีน้ำแข็งปะปน

  20. ด.ช.สิรวิชญ์ ต้นสี ม.3/2 เลขที่ 15 พูดว่า:

    17 /8/43
    กลุ่มดาวประจำราศีคือกลุ่มดาวสิงโต โดยมีสัญลักษณ์ประจำราศีเป็นรูปหัวและแผงขนคอของสิงโตตัวผู้ นั่นก็คือสัญลักษณ์ b นั่นเอง
    กลุ่มดาวสิงโตเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในทางฟ้าซีกทางด้านเหนือ หรือ อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 9 ดวงเรียงกันเป็นรูปสิงโตหมอบ มีความกว้างประมาณ 15 องศา และยาวประมาณ 25 องศา มีดาวฤกษ์สีขาวปนน้ำเงินที่สว่างมากอยู่ 1 ดวงคือ ดาวเรกิวลุส ( Regulus ) ซึ่งมีอันดับความสว่าง 1.35 ถือเป็นอันดับที่ 21 ของดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
    กลุ่มดาวสิงโต จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือประมาณ 15 องศาซึ่งเมื่อขึ้นไปสูงสุด จะผ่านจุดกลางฟ้าพอดี รวมเวลาที่อยู่บนท้องฟ้าทั้งหมดประมาณ 10 ชั่วโมงครึ่งด้วยกัน และดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวสิงโตนี้ในช่วงระหว่างวันที่ 10 สิงหาคม – 15 กันยายน รวมใช้เวลาทั้งหมด 37 วันด้วยกัน
    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลกดาว พฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลกโดยทั่วไป

  21. ณัฎฐณิชา กันทะวงค์ พูดว่า:

    วันอาทิตย์

    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต เป็นดาวฤกษ์ สีเหลือง มีอายุเกือบ 5,000 ล้านปี อยู่ห่าจากโลกของ เราประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร แสงจากดวงอาทิตย์ใช้เวลาเดินทางมายังโลกเพียง 8.3 นาที หรือ 499 วินาทีเท่านั้น พลังงานจำนวนมหาศาล ในดวงอาทิตย์ได้มา จากการ เปลี่ยนก๊าซไฮโดรเจนเป็น ฮีเลียมที่อุณหภูมิประมาณ 15 ล้านเคลวิน หรือประมาณ 27 ล้านองศาฟาเรนไฮต์

    กลุ่มดาวคนถือธนู (Sagittarius)

    กลุ่มดาวในราศีที่ 9 หรือ กลุ่มดาวราศีธนู คือกลุ่มดาวคนถือธนู กลุ่มดาวกลุ่มนี้อยู่ในแนวทางช้างเผือก กลุ่มดาวคนถือธนูได้ชื่อว่า กลุ่มดาวผู้ฆ่า กลุ่มดาววัวตัวผู้เพราะเมื่อกลุ่มดาวนี้ขึ้น กลุ่มดาววัวจะตก หรือเมื่อ กลุ่มดาวนี้ตก กลุ่มดาววัวจะขึ้น กลุ่มดาวคนถือธนูนี้มีรูปร่างคล้ายกาน้ำ ขอให้สังเกตดูรูป ซึ่งได้โยงเส้นเชื่อมไว้ ดาวกลุ่มนี้อยู่ทางทิศตะวันออกของกลุ่มดาวแมงป่อง

  22. ด.ญ.สุธิมา สืบเครือ ชั้นม.3/2 เลขที่ พูดว่า:

    ชาวเมถุน
    เป็นผู้ที่มีความคล่องแคล่วว่องไว ปราดเปรียว ปรู๊ดปร๊าด บริหารเวลาเก่ง เวลาของเขาเป็นเงินเป็นทองไปหมด ชาวเมถุนเป็นคนที่ไม่อยู่นิ่งเฉย ต้องหยิบจับ หาอะไรทำอยู่เรื่อยๆจะคอยศึกษาหาความรู้ใหม่ๆใส่ตัวอยู่เสมอ ชาวเมถุนเป็นคนธาตุลม เป็นคนมีความมั่นใจในตัวเองสูง มีความเฉลียวฉลาด เป็นคนที่มีความสามารถในการสื่อสาร การพูดจาที่ดี น่าฟัง เป็นคนมีความคิดสร้างสรรค์ หัวไวและเป็นคนร่าเริง แต่มีข้อเสียคือมักจะอยากทำอะไรหลายอย่างพร้อมๆกัน จนบางครั้งทำไม่ได้ดีซักอย่าง ทำอะไรรวดเร็วจนบางครั้งสะเพร่าหรือหลงลืมอะไรง่ายๆ และเป็นคนหัวดื้อรั้น ไม่ฟังเหตุผลใครๆนัก ถ้าคิดจะฮึดต่อต้าน คัดค้านขึ้นมาแล้ว ชาวราศีเมถุนนี้จะค้านแบบหัวชนฝา ไม่ฟังใครๆทั้งนั้น เอาแต่ใจตนเองเป็นที่ตั้ง
    ดาวศุกร์
    (อังกฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 (ฉบับแก้ไข ลำดับที่ 4 และ ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ตามทฤษฎีของโคเปอร์นิคัส และ ทฤษฎีของเคปเลอร์) ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า “น้องสาว” ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด

  23. ด.ญ. อาลิสา รอสูงเนิน ม.3/2 เลขที่่33 พูดว่า:

    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น

    ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
    ราศีพฤษภ [พฺรึ-สบ, พฺรึด-สบ] (อังกฤษ: Taurus จากละติน: taurus แปลว่า “วัวตัวผู้”) เป็นราศีที่ 2 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีเมษกับราศีเมถุน มีสัญลักษณ์เป็นวัว ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีพฤษภนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 21 เมษายน ถึง 21 พฤษภาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 15 มิถุนายน
    กลุ่มดาววัว หรือ กลุ่มดาวพฤษภ เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี ปรากฏเด่นชัดในค่ำคืนฤดูหนาว อยู่ระหว่างกลุ่มดาวแกะทางทิศตะวันตก และกลุ่มดาวคนคู่ทางทิศตะวันออก ทางเหนือคือกลุ่มดาวเพอร์ซิอัสและกลุ่มดาวสารถี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ คือ กลุ่มดาวนายพราน และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ คือ กลุ่มดาวแม่น้ำและกลุ่มดาวซีตัส

  24. ด.ช. รัชชา ทรัพย์ยิ่งวัฒนา พูดว่า:

    วันเดือนปีเกิด 27/2/43

    กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ หรือ กลุ่มดาวกุมภ์ (♒) เป็นกลุ่มดาวจักรราศีในแนวเส้นสุริยวิถีซึ่งเป็นที่รู้จักมาช้านานกลุ่มหนึ่ง กลุ่มดาวนี้อยู่ในบริเวณที่เรียกกันว่าทะเลท้องฟ้า ซึ่งได้ชื่อมาจากการที่กลุ่มดาวหลายกลุ่มในบริเวณนี้มีชื่อเกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น กลุ่มดาววาฬ กลุ่มดาวปลา กลุ่มดาวแม่น้ำ เป็นต้น บางครั้งสายน้ำของกลุ่มดาวแม่น้ำจะถูกวาดราวกับว่าไหลออกจากหม้อน้ำ (คนโท) ของกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ เป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่อยู่ทางซีกฟ้าด้านใต้ อยู่ถัดจากกลุ่มดาวมกรไปทางทิศตะวันออก ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์แสงริบหรี่อย่างน้อย 13 ดวงมองเห็นได้ไม่ชัดเจนนัก ดวงอาทิตย์จะผ่านกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ถึง 13 มีนาคมปรากฏอยู่บนท้องฟ้านานประมาณ 10 ชั่วโมง กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ เป็นกลุ่มดาวอันดับที่สิบเอ็ดของกลุ่มดาวจักรราศีเป็นกลุ่มดาวที่ค่อนข้างหายาก เนื่องจากไม่มีดาวฤกษ์ดวงใด ในกลุ่มที่มีความสว่างปรากฏสว่างกว่า 2.9 เลย คนโบราณเห็นเป็นรูปคนแบกหม้อน้ำกำลังเทน้ำลงในแม่น้ำ Fluvius Aquarii ซึ่งหมายถึง The River of Aquarius ซึ่งสายน้ำจะไหล ผ่านกลุ่มดาวปลาทางใต้ (Piscis Austrinus) ที่มีดาวฤกษ์สุกสว่างคือ ดาวโฟมาลออท (Fomalhaut) ขึ้นไปสูงสุดกลางท้องฟ้าประมาณเที่ยงคืนของปลายเดือนสิงหาคม ต้นเดือนกันยายน มีดาวที่สำคัญ ดังนี้ Sadalmelik เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง มีความสว่างประมาณ 2.96 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 756 ปีแสง อยู่ในตำแหน่งไหล่ขวาของคนแบกหม้อน้ำ ชื่อดาว มาจากภาษาอารบิก หมายถึง ดาวโชคดีของกษัตริย์ (the Lucky Stats of the King) Sadalsuud เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง มีความสว่างประมาณ 2.91 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 612 ปีแสง อยู่ในตำแหน่งไหล่ซ้าย ของคนแบกหม้อน้ำ ชื่อดาว มาจากภาษาอารบิก หมายถึง โชคดีที่สุดของความโชคดี (the Luckiest of the Lucky) NGC7293 – The Helix Nebula เป็นเนบิวลาดวงดาว (Planetary Nebula) ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ของเราที่สุดมีความสว่างประมาณ 6 มองเห็นได้ด้วยกล้องสองตาโดยจะมีขนาดราวเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์ ห่างจากโลกประมาณ 300 ปีแสง
    นิทานดาว ชาวบาบิโลเนียนโบราณ ประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตศักราช มองเห็นเป็นรูปหม้อน้ำ ที่มีน้ำล้นออกมา และแทนด้วยสัญลักษณ์ ของคนแบกหม้อน้ำ (Aquarius) ซึ่งในเดือนที่ 11 ของชาวบาบิโลเนียน (หรือระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์) จะเป็นช่วงที่ฝนตกหนักในรอบปี ส่วนชาวอียิปต์โบราณ เห็นเป็นรูปเทพเจ้า Hapi ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นผู้ให้น้ำ เพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย์โลก

    ดาวประจำวันเกิด ดวงอาทิตย์

    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต

    ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และธาตุอื่น ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ) ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอกว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลำดับหลัก ผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล ไม่ยุบตัวหรือขยายตัว

    ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากศูนย์กลางดาราจักรทางช้างเผือกเป็นระยะทางโดยประมาณ 26,000 ปีแสง ใช้เวลาโคจรครบรอบดาราจักรประมาณ 225-250 ล้านปี มีอัตราเร็วในวงโคจร 215 กิโลเมตรต่อวินาที หรือ 1 ปีแสง ทุก ๆ 1,400 ปี[4]

  25. ด.ญ. เบญญาภา ปัญญาวงศ์ เลขที่ 20 ม.3/1 พูดว่า:

    ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า “น้องสาว” ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุดสำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า “ดาวประจำเมือง” และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า “ดาวประกายพรึก” หรือ “ดาวรุ่ง”
    ราศีมีนหรือกลุ่มดาวปลาคู่ เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ทางเหนือของเส้นศูนย์สูตรฟ้า ปลาตัวหนึ่งอยู่ถัดจากสี่เหลี่ยมของกลุ่มดาวม้ามีปีกไปทางใต้ อีกตัวหนึ่งอยู่ถัดไปทางทิศตะวันออกประกอบด้วยดาวฤกษ์แสงริบหรี่อย่างน้อย 15 ดวง ดวงที่ 1 ถึง 6 เป็นปลาตัวแรก และดวงที่ 14 ถึง 15 เป็นปลาตัวที่ 2 ดวงอาทิตย์จะผ่านกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 13 มีนาคม ถึง19 เมษายน ดวงอาทิตย์จะอยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าในวันที่ 21 มีนาคม ซึ่งอยู่ในกลุ่มดาวปลาคู่ วันนี้จะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นตรงจุดตะวันออกพอดี และ ตกตรงจุดตะวันตกพอดีเรียกว่า วันอิควินอกซ์ ( EQUINOX ) ซึ่งกลางวันจะยาวนานเท่ากับกลางคืน กลุ่มดาวปลาคู่จะปรากฏอยู่บนฟ้านานราว 9 ชั่วโมง

  26. ด.ช. ปวริศ เครือธิ เลขที่7 ม3/2 พูดว่า:

    ราศีกุมภ์
    กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำเป็นกลุ่มดาวจักรราศีในแนวเส้นสุริยวิถีซึ่งเป็นที่รู้จักมาช้านานกลุ่มดาวนี้อยู่ในบนิเวณที่เรียกกันว่าทะเลท้องๆฟ้า
    ดวงจันทร์
    เป็นดาวบริวาลเพียงดวงเดียวของโลกจัดเป็นดาวบริวาลขนานใหญ่มีระยะห่างจากโลกดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ27.3วันซึ่งจะทำซ้ำรอบทุกๆช่วง29.5วัน( เรียกว่าขาบไซโนดิก

  27. ศุภกฤต ใจการ เลขที่ 19 ชั้น ม.3/4 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น
    ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
    ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน
    ดาวประจำราศี
    ราศีมกร หรือ ราศีมังกร (อังกฤษ: Capricorn, Capricornus จากละติน: Capricornus แปลว่า “แพะมีเขา”) เป็นราศีที่ 10 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีธนูกับราศีกุมภ์ มีสัญลักษณ์เป็นครึ่งแพะภูเขาครึ่งปลา ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีมกรนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 22 ธันวาคม ถึง 20 มกราคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 15 มกราคม ถึง 14 กุมภาพันธ์

  28. ศุภกฤต ใจการ เลขที่ 19 ชั้น ม.3/4 พูดว่า:

    ราศีกันย์ มีสัญลักษณ์เป็นหญิงสาว แต่จากตำนานหลายเรื่องที่เล่าต่อกันมาก็ยังไม่แน่ใจว่าหญิงสาวที่ว่านี้ หมายถึงใครกันแน่ โดยส่วนใหญ่มักจะบอกว่าเป็น “เทพีแอสเตรีย (Astraea)” ผู้เป็นเทพีแห่งความยุติธรรม หรือ “เทพีดีมิเตอร์(Demeter)” ผู้เป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ หรือบางครั้งก็เชื่อกันว่าเป็น “เทพีเพอร์ซิโฟเน่ (Persephone)” ผู้เป็นธิดาของดีมิเตอร์และซีอุส และด้วยความที่ว่าเพอร์ซิโฟเน่ จะต้องถูกฮาเดสพาตัวไปอยู่ในแดนแห่งความตายนานเป็นเวลา 4 เดือนใน 1 ปี ทำให้ในช่วงเวลา 4 เดือนนั้น ไม่สามารถมองเห็นหมู่ดาวราศีกันย์ได้ ส่วนประวัติของดีมิเตอร์และเพอร์ซิโฟเน่คงไม่ต้องเล่า เพราะคิดว่าทุกท่านคงทราบกันรู้ดีอยู่แล้วจากที่กล่าวไปก่อนหน้านี้ เรามาดูที่ประวัติของแอสเตรียกันดีกว่า ดังต่อไปนี้
    ในสมัยที่เพิ่งมีมนุษย์เกิดขึ้นมา หรือที่เราเรียกกันว่า ยุคทอง ในสมัยนั้น ทั้งปีจะเปรียบเสมือนกับเป็นฤดูใบไม้ผลิตลอดเวลา มนุษย์ที่อยู่บนโลกจะอยู่กันอย่างสุขสบาย โดยแทบไม่ต้องออกแรงทำมาหากินอะไรเลย ส่วนเหล่าเทพก็ได้ลงมาอาศัยอยู่บนพื้นของโลกมนุษย์ด้วยเช่นกัน
    แต่หลังจากที่ผ่านยุคทองนั้นมาแล้ว ก็ล่วงเลยเข้าสู่ยุคเงิน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มนุษย์เกิดการทะเลาะเบาะแว้งเพื่อแย่งชิงดีชิงเด่นกัน ทำให้เหล่าเทพรู้สึกเบื่อหน่าย และค่อย ๆ หนีกลับไปพำนักอยู่ที่บนสวรรค์ทีละองค์สององค์แทน จนในที่สุด ก็เหลือแต่เพียงเทพีแอสเตรียที่ยังพยายามทนอยู่ เพื่อหวังที่จะคอยตักเตือนและสอนมนุษย์ให้ดำรงตนอยู่ในความดีตลอดมา แต่ก็ไม่ได้เป็นประโยชน์อันใด เพราะมนุษย์กลับทำตัวต่ำช้ามากขึ้นทุกวันๆ จนในที่สุด เทพีแอสเตรียก็หมดซึ่งความอดทน และเธอจึงคิดตัดสินใจจากโลกมนุษย์แห่งนี้ไป และเดินทางกลับสู่สรวงสวรรค์ดังเดิม

  29. นัทธพงค์ แก้วประสิทธิ์ ชั้นม3/3 เลขที่10 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต
    ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และธาตุอื่น ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ) ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอกว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลำดับหลัก ผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล ไม่ยุบตัวหรือขยายตัว
    ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากศูนย์กลางดาราจักรทางช้างเผือกเป็นระยะทางโดยประมาณ 26,000 ปีแสง ใช้เวลาโคจรครบรอบดาราจักรประมาณ 225-250 ล้านปี มีอัตราเร็วในวงโคจร 215 กิโลเมตรต่อวินาที หรือ 1 ปีแสง ทุก ๆ 1,400 ปี

    ดาวประจำราศี
    ราศีกุมภ์ ดาวพระเคราะห์ราหูเป็นดาวประจำราศีกุมภ์ เกิดวันที่ 13กุมภาพันธ์-12มีนาคม
    พื้นฐานดวงที่ถูกควบคุมโดยดาวราหู(๘)
    บุคคลในราศีกุมภ์ ธาตุลม ดวงกำเนิดจะถูกควบคุมโดยดาวราหู ซึ่งเป็นดาวเคราะห์เจ้าการครองราศีกุมภ์ผู้นั้นจะได้รับกระแสพลังจากดาวราหู มีความเป็นตัวตนดั่งลิขิตของเทพแห่งดาวประจำราศี ธาตุแท้ตามพื้นชะตา บุคคลนั้นมักมีจิตภักดีต่อผู้มีคุณและซื่อตรง ต่อผู้ที่ไว้วางใจตน มีความตั้งใจแรงกล้า เป็นนักเปลี่ยนแปลงดัดแปลง ปรับปรุงให้ดีกว่าได้อย่าทึ่ง มีความปราดเปรื่องทางปัญญา จิตใจร่าเริง กล้าได้กล้าเสีย และเข้าใจสภาพความเป็นมนุษย์ได้ลึกซึ้ง ชอบสมาคม สร้างความสุขหรรษาในหมู่คณะ มีไหวพริบในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพราะได้รับกระแสจากดาวอาทิตย์ ซึ่งขัดแย้งในราศีกุมภ์ จึงส่งผลให้เกิดความรู้สึกเห็นแก่ตัว ชอบโอ้อวดเรียนรู้เร็ว แต่มักฉวยโอกาส มีความพากเพียรในการสร้างตัว หัวก้าวหน้า

  30. ด.ญ.ปฏิมากร คำเรือง เลขที่21 ม.3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะนอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
    ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลกโดยทั่วไป ดาวพฤหัสบดีเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ในท้องฟ้า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า วงแหวนของดาวพฤหัสค่อนข้างมืด ซึ่งอาจประกอบด้วยเศษหินขนาดเล็ก และไม่พบน้ำแข็ง เหมือนที่พบในวงแหวนของดาวเสาร์

    ดาวประจำราศรี
    ราศรีสิงค์ กลุ่มดาวสิงโต หรือ กลุ่มดาวสิงห์ เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี อยู่ระหว่างกลุ่มดาวปูทางทิศตะวันตก กับกลุ่มดาวหญิงสาวทางทิศตะวันออก เเละ อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า ตำแหน่งที่ขึ้นจึงอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือ และตกทางทิศตะวันตก เฉียงไปทางเหนือ ขณะที่อยู่สูงสุดจะอยู่เหนือศีรษะ ตำแหน่งต่าง ๆ ของกลุ่มดาวสิงโตจึงใช้บอกทิศได้
    เดือนที่มองไม่เห็นหรือเห็นกลุ่มดาวสิงโตน้อยมากคือ เดือนสิงหาคมและกันยายน ทั้งนี้เพราะดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่ในหรือใกล้เคียงกับกลุ่มดาวสิงโตมาก ส่วนเดือนที่ มองเห็นนานเกือบตลอดทั้งคืนคือ เดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม โดยเห็นตั้งแต่ขึ้นทางทิศตะวันออกในเวลาหัวค่ำถึงตกทางทิศตะวันตกในเวลารุ่งเช้า ช่วงเวลาตั้งแต่ขึ้น ถึงตกยาวประมาณ 10 ชั้วโมงครึ่ง

  31. ด.ช. วีระศักดิ์ แสงแก้ว ม.3/2 เลขที่ 13 พูดว่า:

    ดาวพุธ
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวารดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาตดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่ำอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูดเพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วยไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ออกซิเจน, โซเดียม, แคลเซียม, โพแทสเซียม และ น้ำ
    ราศีสิงห์
    กลุ่มดาวราศีสิงห์ เป็นกลุ่มดาวที่เก่าแก่ที่สุดตามที่ได้มีการบันทึกมา ดาวกลุ่มนี้เกี่ยวข้องกับ ดวงอาทิตย์อย่างใกล้ชิด นับแต่แรกเกิดระบบสุริยะ ฉะนั้นทางโหราศาสตร์ เขาจึงกำหนดให้ดวงอาทิตย์เป็นเจ้าของราศีสิงห์นี้ชาวอียิปต์โบราณบูชาดาวกลุ่มนี้เพราะอุทกภัยจากแม่น้ำไนล์ เกิดขึ้นเมื่อ ดวงอาทิตย์เข้ามาอยู่ในกลุ่มดาวราศีนี้ บางท่านจึงสันนิษฐานว่า ตัวสฟิงส์ (Sphing) ของอียิปต์ส่วนหัวคื่อหญิงพรหมจารีย์ (ราศีกันย์ )ส่วนตัวคือสิงห์โต (ราศีสิงห์)กลุ่มดาวสิงห์โต เป็นกลุ่มดาวที่บอกฤดูกาลได้เมื่อจะเริ่มหน้าร้อนของฝรั่ง คือ ปลายเดือนมิถุนายน กลุ่มดาวสิงโตจะอย่างท้องฟ้าตั้งแต่เริ่มมืด กลุ่มดาวสิงโต จะอยู่กลางท้องฟ้าตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม

  32. ด.ญ.อารียา ขายข้าวสาร พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของเทพเจ้าซุส

    ดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวปู หรือ กลุ่มดาวกรกฎเป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี มีขนาดเล็กและไม่สว่าง อยู่ระหว่างกลุ่มดาวคนคู่ทางทิศตะวันตก และกลุ่มดาวสิงโตทางทิศตะวันออก ทางเหนือคือกลุ่มดาวแมวป่า ทางใต้ คือ กลุ่มดาวหมาเล็กและกลุ่มดาวงูไฮดรา

  33. ด.ช.คมกริบ นาซีก ม.3/3 เลขที่2 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน[nb 1] เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน

    ดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวสิงโต หรือ กลุ่มดาวสิงห์ เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี อยู่ระหว่างกลุ่มดาวปูทางทิศตะวันตก กับกลุ่มดาวหญิงสาวทางทิศตะวันออก

  34. นาย พนัส เขียวลำพูน พูดว่า:

    วันพุธ
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น
    ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
    ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน

    ราศีธนู
    กลุ่มดาวในราศีที่ 9 หรือ กลุ่มดาวราศีธนู คือกลุ่มดาวคนถือธนู กลุ่มดาวกลุ่มนี้อยู่ในแนวทางช้างเผือก กลุ่มดาวคนถือธนูได้ชื่อว่า กลุ่มดาวผู้ฆ่า กลุ่มดาววัวตัวผู้เพราะเมื่อกลุ่มดาวนี้ขึ้น กลุ่มดาววัวจะตก หรือเมื่อ กลุ่มดาวนี้ตก กลุ่มดาววัวจะขึ้น กลุ่มดาวคนถือธนูนี้มีรูปร่างคล้ายกาน้ำ ขอให้สังเกตดูรูป ซึ่งได้โยงเส้นเชื่อมไว้ ดาวกลุ่มนี้อยู่ทางทิศตะวันออกของกลุ่มดาวแมงป่อง

    กลุ่มดาวราศีธนู เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ติดกับกลุ่มดาวแมงป่อง ตามนิยายดาวชาวกรีกกล่าวว่าดาวราศีธนูเป็นกลุ่มดาวแทน ชีรอน (Chiron) ซึ่งมีรูปครึ่งคนครึ่งม้า เป็นบุตรพระเสาร์และพระนาง Philyra ตามนิยายกล่าวว่า Chiron แปลงตัวเป็นสัตว์ประหลาดครึ่งคนครึ่งม้า เพื่อหนีภรรยาขี้หึงของเขา Chiron เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเด่นมากในสมัยนั้น เขาเป็นทั้งแพทย์ นักดนตรี และ นักการศึกษา เขาเป็นผู้สอนให้รู้ชื่อของหญ้าหรือพืชต่าง ๆ ที่ใช้ทำยา เป็นนักการ ศึกษาที่ทรงคุณวุฒิ มีลูกศิษย์มากมาย แต่ผลที่สุด Chiron ก็ตายเพราะยาพิษ คือถูกศรพิษกรีดผิวหนังถึงแก่ความตาย

  35. ด.ช.พนาสิทธิ์ ใจยืน ม.3/2 เลขที่8 พูดว่า:

    ด.ช.พนาสิทธิ์ ใจยืน ม.3/2 เลขที่8
    กลุ่มดาวราศีพฤษภ คือ กลุ่มดาววัวตัวผู้ คนไทย โดยทั่วไปเห็นกลุ่มดาวนี้เป็น กลุ่มดาวธง
    กลุ่มดาววัว เป็นกลุ่มดาวที่สังเกตเห็นได้ง่าย มีดาวฤกษ์เรียงกันเป็นรูปตัววีอย่างน้อย 9 ดวง เป็นกลุ่มดาวทางฟ้าซีกเหนือ โดยจะปรากฏขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางทิศเหนือ คนไทยโบราณเรียกกลุ่มดาววัวนี้ว่า ดาวไม้ค้ำเกวียน หรือ ดาวธง ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านกลุ่มดาววัวระหว่างวันที่ 14 พฤษภาคม ถึง 21 มิถุนายน ในกลุ่มดาววัวจะมีดาวฤกษ์สีส้มแดงสว่างที่สุดอยู่หนึ่งดวงเป็นตาขวาของวัว ชื่อว่า ดาวอัลดิบะแรน ( ALDEBARAN ) หรือ ดาวโรหิณี
    ตำนานจากกลุ่มดาวราศีพฤษภ : ที่มาตามตำนานเทพนิยายกรีก
    กลุ่มดาวราศีพฤษภ หรือกลุ่มดาววัว เป็นกลุ่มดาวกลุ่มที่ 2 ในกลุ่มดาว 12 ราศี ตามตำนานในเทพนิยายกรีก กลุ่มดาววัว แทน วัว ซึ่งเป็นร่างแปลงของเทพซิอุส (Zeus) หรือเทพจูปีเตอร์ (Jupiter) ที่พยายามลักพาตัวเจ้าหญิงยูโรปา (Europa)
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้นดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
    ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน

  36. ด.ญ.นันท์พจี หล่อวงศ์ ม.3/3 เลขที่ 28 พูดว่า:

    เป็นกลุ่มดาวที่มีความสว่างน้อยที่สุดในกลุ่มดาวจักรราศี ซึ่งไม่มีดาวดวงใดในกลุ่มดาวเลย
    ดาวปูจะขึ้นทางทิศขณะขึ้นกลุ่มตะวันออกเฉียงไปทางเหนือ ประมาณ 20 องศา ในลักษณะที่เอาก้ามปูด้านขวา
    เมื่อขึ้นไปสูงสุดจะอยู่ตรงศีรษะ ขาปูชี้ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ ก้ามปูด้านซ้ายชี้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และก้ามปูด้านขวาชี้ไปทางทิศเหนือ ขณะตกลับขอบฟ้า จะตก ณ ทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือ
    กลุ่มดาวปูขึ้นเวลาหัวค่ำในต้นเดือนกุมภาพันธ์ จึงเป็นกลุ่มดาวที่เห็นได้นานในเดือนกุมภาพันธ์มากกว่าเดือนอื่น ๆ ครึ่งหลัง ของเดือนกรกฎาคมและครึ่งแรกของ เดือนสิงหาคม จะมองไม่เห็นกลุ่มดาวปู เพราะตกลับขอบฟ้าเกือบพร้อมกับดวงอาทิตย์ เวลาขึ้นตก ในแต่ละเดือน ตลอดทั้งเวลาที่ขึ้นไปอยู่สูงสุด และเวลาที่เห็นได้ในเดือนต่าง ๆ

    วันอาทิตย์

    ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต เป็นดาวฤกษ์ สีเหลือง มีอายุเกือบ 5,000 ล้านปี อยู่ห่าจากโลกของ เราประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร แสงจากดวงอาทิตย์ใช้เวลาเดินทางมายังโลกเพียง 8.3 นาที หรือ 499 วินาทีเท่านั้น พลังงานจำนวนมหาศาล ในดวงอาทิตย์ได้มา จากการ เปลี่ยนก๊าซไฮโดรเจนเป็น ฮีเลียมที่อุณหภูมิประมาณ 15 ล้านเคลวิน หรือประมาณ 27 ล้านองศาฟาเรนไฮต์
    ดวงอาทิตย์มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่มากกว่าโลกของเรา109 เท่า มีปริมาตร 1,300,000 เท่าของโลก และมีมวล มากกว่าโลกของเรา 333,434 เท่า กาลิเลโอเป็นคนแรก ที่พิสูจน์ให้เห็นว่า ดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเอง และจากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ทำให้ทราบว่า การหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ ในบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีความเร็วกว่าที่บริเวณขั้ว เหนือและขั้วใต้

  37. นิรนาม พูดว่า:

    ด.ญ. พรชิตา สั่นสท้าน ชั้น ม.3/3 เลขที่ 26
    ดาวประวันเกิด
    ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก
    ดาวประจำราศี
    ราศีกันย์ กลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านระหว่างวันที่ 17 กันยายน ถึง วันที่ 1 พฤศจิกายน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์ใช้เวลาเคลื่อนที่ผ่านนานที่สุด คือ 46 วัน รองลงมาคือ กลุ่มดาววัว 39 วัน ประกอบด้วยดาวฤกษ์เรียงต่อกันอย่างน้อย 11 ดวง มีกลุ่มดาวที่สว่างมากอยู่ 6 ดวงเรียงกันเป็นรูปตัววาย ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด คือ ดาวสไปก้า ( SPICA ) เป็นดาวฤกษ์สีขาวเหลือง มีหมายถึง รวงข้าวสาลีที่หญิงสาวถือไว้ในมือซ้าย กลุ่มดาวหญิงสาว หรือกลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวอันดับที่หกของกลุ่มดาวจักรราศี มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากกลุ่มดาวงูไฮดรา (Hydra) กลุ่มดาวหญิงสาว อยู่ทางซีกฟ้าใต้ มีลำตัวทอดยาวขนานไปตามแนวสุริยวิถี (อยู่ด้านเหนือของสุริยะวิถี) มีดาวฤกษ์สุกสว่าง คือ ดาวรวงข้าว เป็นดาวฤกษ์ที่เห็นได้เด่นชัดและหาได้ง่าย โดยกลุ่มดาวหญิงสาว จะขึ้นไปสูงสุดกลางท้องฟ้า ประมาณเที่ยงคืนของเดือนเมษายน มีดาวที่สำคัญ ดังนี้ Spica ดาวรวงข้าว หรือดาว สไปกา อยู่ห่างจากโลกประมาณ 262 ปีแสง ดาวรวงข้าว อยู่ในตำแหน่งก้านของรวงข้าว ที่หญิงสาวถือไว้ด้วยมือซ้าย คำว่า Spica มาจากภาษาอารบิก หมายถึง ไม่สามารถสู้ได้ เนื่องจากไม่มีดาวฤกษ์ที่สว่างใดใกล้เคียงบริเวณนั้น

  38. ด.ช.สุทธภัทร งามเมือง เลขที่8 ชั้นม3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น
    ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
    ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน
    ดาวประจำราศี
    ราศีมกร หรือ ราศีมังกร (อังกฤษ: Capricorn, Capricornus จากละติน: Capricornus แปลว่า “แพะมีเขา”) เป็นราศีที่ 10 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีธนูกับราศีกุมภ์ มีสัญลักษณ์เป็นครึ่งแพะภูเขาครึ่งปลา ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีมกรนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 22 ธันวาคม ถึง 20 มกราคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 15 มกราคม ถึง 14 กุมภาพันธ์

  39. ศตาวรรษ สุยะ พูดว่า:

    กลุ่มดาวในราศีที่ 8 หรือ กลุ่มดาวราศีพิจิก คือ กลุ่มดาวแมงป่อง กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มกาวใน 12 ราศี กลุ่มเดียวที่มีรูปร่างเหมาะสมเหมือน ชื่อที่สุด มีส่วนหัว ส่วนตัว ส่วนหาง และจงอยของหางเหมือนแมงป่องจริง ๆ

    กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มดาวที่สวยงามที่สุด ในบรรดากลุ่มดาว 12 ราศี ดาวฤกษ์ Antares ซึ่งเป็นหัวใจของแมงป่องมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 400 ล้านไมล์

    กลุ่มดาวแมงป่อง จะเห็นอยู่ตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 20 กรกฎาคม ในต้นเดือนพฤศจิกายน พอดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป จะเห็นกลุ่มดาวแมงป่อง ทางขอบฟ้าทิศตะวันตกใกล้จะตกจากขอบฟ้าไป ในตอนต้นเดือนกุมภาพันธ์ จะเห็นอยู่เหนือขอบฟ้าทิศตะวันออก เมื่อเวลาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น นักเรียนที่ตื่นท่องหนังสือเตรียมสอบไล่ ถ้าดูจะสังเกตเห็นทุกคน

    กลุ่มดาวแมงป่อง เป็นกลุ่มดาวที่มนุษย์รู้จักมาแต่ดึกดำบรรพ์ การใช้ชื่อว่ากลุ่มดาว สคอร์ – ปี – อุส (Scorpius) เพราะในสมัยโบราณ เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ ปรากฏมาอยู่ในกลุ่มดาวนี้ ปรากฏว่าในประเทศอิยิปต์ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บใด ๆ เกิดขึ้นเลย

    เทพนิยายโบราณกล่าวถึงกลุ่มดาวนี้ว่า มันคือ แมงป่องยักษ์ ผู้สามารถพิชิต นายพรานใหญ่ ออไรออน (Orion) ซึ่งเป็นนายของบรรดาสัตว์บนโลกให้ถึง แก่ความตายได้ โดยแมงป่องตัวนี้ ถูกพระนางจูโน คนขี้อิจฉาใช้ไปต่อยที่ ข้อเท้านายพราน จนถึงแก่ความตาย

  40. ด.ช.อัษฎาวุธ คำพันธุ์ ชั้นม.3/1 เลขที่ 9 พูดว่า:

    ราศีพิจิก
    กลุ่มดาวราศีพิจิก คือ กลุ่มดาวแมงป่อง กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มกาวใน 12 ราศี กลุ่มเดียวที่มีรูปร่างเหมาะสมเหมือน ชื่อที่สุด มีส่วนหัว ส่วนตัว ส่วนหาง และจงอยของหางเหมือนแมงป่องจริง ๆ
    กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มดาวที่สวยงามที่สุด ในบรรดากลุ่มดาว 12 ราศี ดาวฤกษ์ Antares ซึ่งเป็นหัวใจของแมงป่องมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 400 ล้านไมล์ กลุ่มดาวแมงป่อง จะเห็นอยู่ตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 20 กรกฎาคม ในต้นเดือนพฤศจิกายน พอดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป จะเห็นกลุ่มดาวแมงป่อง ทางขอบฟ้าทิศตะวันตกใกล้จะตกจากขอบฟ้าไป ในตอนต้นเดือนกุมภาพันธ์ จะเห็นอยู่เหนือขอบฟ้าทิศตะวันออก เมื่อเวลาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น นักเรียนที่ตื่นท่องหนังสือเตรียมสอบไล่ ถ้าดูจะสังเกตเห็นทุกคน กลุ่มดาวแมงป่อง เป็นกลุ่มดาวที่มนุษย์รู้จักมาแต่ดึกดำบรรพ์ การใช้ชื่อว่ากลุ่มดาว สคอร์ – ปี – อุส (Scorpius) เพราะในสมัยโบราณ เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ ปรากฏมาอยู่ในกลุ่มดาวนี้ ปรากฏว่าในประเทศอิยิปต์ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บใด ๆ เกิดขึ้นเลย
    เทพนิยายโบราณกล่าวถึงกลุ่มดาวนี้ว่า มันคือ แมงป่องยักษ์ ผู้สามารถพิชิต นายพรานใหญ่ ออไรออน (Orion) ซึ่งเป็นนายของบรรดาสัตว์บนโลกให้ถึง แก่ความตายได้ โดยแมงป่องตัวนี้ ถูกพระนางจูโน คนขี้อิจฉาใช้ไปต่อยที่ ข้อเท้านายพราน จนถึงแก่ความตาย

    ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นอันดับที่ 4 ในบรรดาดาวเคราะห์ทั้งหมด ดาวอังคารมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 เท่าของโลก ดาวอังคารมีโครงสร้างภายในประกอบด้วยแก่นของแข็งมีรัศมีประมาณ 1,700 กิโลเมตร ห่อหุ้มด้วยชั้นแมนเทิลที่เป็นหินหนืดหนาประมาณ 1,600 กิโลเมตร และมีเปลือกแข็งเช่นเดียวกับโลก ดาวอังคารมีสีแดงเนื่องจากพื้นผิวประกอบด้วยออกไซด์ของเหล็ก (สนิมเหล็ก) พื้นผิวของดาวอังคารเต็มไปด้วยหุบเหวต่างๆ มากมาย หุบเหวขนาดใหญ่ชื่อ หุบเหวมาริเนอริส (Valles Marineris) มีความยาว 4,000 กิโลเมตร กว้าง 600 กิโลเมตร ลึก 8 กิโลเมตร นอกจากนี้ดาวอังคารยังมีภูเขาไฟที่สูงที่สุดในระบบสุริยะชื่อ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Mount Olympus) สูง 25 กิโลเมตร ฐานที่แผ่ออกไปมีรัศมี 300 กิโลเมตร
    ดาวอังคารมีดวงจันทร์บริวารขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบัสและดีมอส ดวงจันทร์ทั้งสองดวงมีรูปร่างไม่สมมาตร และมีขนาดเล็กกว่า 25 กิโลเมตร สันนิษฐานว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกแรงโน้มถ่วงของดาวอังคารดูดจับมาเป็นบริวาร ภายหลังการก่อตัวของระบบสุริยะ

  41. ด.ญ.กมลรัตน์ ผัดดี ชั้นม.3/1 เลขที่ 11 พูดว่า:

    ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้ ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก

    ดาวประจำราศีเมถุน กลุ่มดาวคนคู่เป็นกลุ่มดาวจักรราศีลำดับที่สาม เป็นดาวสำคัญของนักเดินเรือ เพราะเมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนสู่ราศีมิถุน นับเป็นเครื่องหมายของการสิ้นสุดพายุฤดูหนาว เรือออกทะเลได้ บนเรือมักจะมีรูปปั้นและหิ้งบูชาเทพสององค์นี้ เพื่ออธิษฐานให้เดินทางได้ราบรื่น ปราศจากอุปสรรคทั้งปวง ในท่าเรือต่างๆ สมัยโบราณ ก็ยังมีรูปปั้นของเทพทั้งสองนี้ ที่สองฝั่งปากทางออกสู่ทะเล เนื่องจากเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในแนวสุริยวิถี อยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ของกลุ่มดาวนายพราน (Orion) โดยมีดาวฤกษ์สุกสว่างที่สังเกตง่าย และอยู่ใกล้กัน 2 ดวง คือ ดาวคาสเตอร์ (Caster) และ ดาวพอลลักซ์ (Pollux) อยู่บนทางช้างเผือก (The Milky Way) ส่วนคนไทยเห็นกลุ่มดาวคนคู่ เรียงกันเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า คล้ายโลงศพ จึงเรียกชื่อกลุ่มดาวนี้ว่า กลุ่มดาวโลงศพ และเห็นดาวสามดวงที่อยู่ตรงด้านข้างโลงเหมือน นกกาที่มาเกาะโลงอยู่ แล้วเรียกกลุ่มดาวดังกล่าวว่า กลุ่มดาวกา เราสามารถเห็นกลุ่มดาวคนคู่ ขึ้นไปสูงสุดกลางท้องฟ้า ราวเที่ยงคืนของเดือนมกราคม ประกอบด้วยกลุ่มดาวที่สำคัญดังนี้ Caster ดาวคาสเตอร์ เป็นดาวฤกษ์ในระบบดาวคู่ (Double Star) ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดย 2 ดวงแรก (ชื่อ Caster A และ Caster B) มีความสว่างเท่ากับ 1.94 และ 2.92 ตามลำดับ โดยโคจรรอบกันและกันประมาณ 510 ปีต่อรอบ อยู่ห่างจากโลกประมาณ 52 ปีแสง ดาวคาสเตอร์ เป็นศีรษะของหนึ่งในสองคนของคนคู่ Pollux เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง มีความสว่างเท่ากับ 1.14 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 34 ปีแสง ชาวอารบิก เรียกดาวพอลลักซ์ อีกชื่อหนึ่งว่า Rasalgeuse หมายถึง ศีรษะของคนคู่ Alhena เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง มีความสว่างประมาณ 1.93 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 105 ปีแสง M35 เป็นกระจุกดาวเปิด (Open Cluster) ในกลุ่มดาวคนคู่ มองเห็นค่อนข้างยากด้วยตาเปล่า อยู่เหนือดาวเอตาประมาณ 2 องศา ประกอบด้วยดาวฤกษ์สว่างประมาณ 200 ดวงขึ้นไป มีความสว่างประมาณ 5.1 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 2200 ปีแสง

  42. ด.ญ.พิมพิลาลัย เครือคำ ชั้นม.3/1 เลขที่ 25 พูดว่า:

    ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม “ดาวแดง” เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเหลือง ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา

    ราศีกันย์ กลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านระหว่างวันที่ 17 กันยายน ถึง วันที่ 1 พฤศจิกายน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวจักรราศีที่ดวงอาทิตย์ใช้เวลาเคลื่อนที่ผ่านนานที่สุด คือ 46 วัน รองลงมาคือ กลุ่มดาววัว 39 วัน ประกอบด้วยดาวฤกษ์เรียงต่อกันอย่างน้อย 11 ดวง มีกลุ่มดาวที่สว่างมากอยู่ 6 ดวงเรียงกันเป็นรูปตัววาย ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด คือ ดาวสไปก้า ( SPICA ) เป็นดาวฤกษ์สีขาวเหลือง มีหมายถึง รวงข้าวสาลีที่หญิงสาวถือไว้ในมือซ้าย กลุ่มดาวหญิงสาว หรือกลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี เป็นกลุ่มดาวอันดับที่หกของกลุ่มดาวจักรราศี มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากกลุ่มดาวงูไฮดรา (Hydra) กลุ่มดาวหญิงสาว อยู่ทางซีกฟ้าใต้ มีลำตัวทอดยาวขนานไปตามแนวสุริยวิถี (อยู่ด้านเหนือของสุริยะวิถี) มีดาวฤกษ์สุกสว่าง คือ ดาวรวงข้าว เป็นดาวฤกษ์ที่เห็นได้เด่นชัดและหาได้ง่าย โดยกลุ่มดาวหญิงสาว จะขึ้นไปสูงสุดกลางท้องฟ้า ประมาณเที่ยงคืนของเดือนเมษายน มีดาวที่สำคัญ ดังนี้ Spica ดาวรวงข้าว หรือดาว สไปกา อยู่ห่างจากโลกประมาณ 262 ปีแสง ดาวรวงข้าว อยู่ในตำแหน่งก้านของรวงข้าว ที่หญิงสาวถือไว้ด้วยมือซ้าย คำว่า Spica มาจากภาษาอารบิก หมายถึง ไม่สามารถสู้ได้ เนื่องจากไม่มีดาวฤกษ์ที่สว่างใดใกล้เคียงบริเวณนั้น

  43. ด.ญ.ปาณิชยา ฟักทอง เลขที่ 22 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    กลุ่มดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวในจักรราศีที่ 8 หรือ กลุ่มดาวราศีพิจิก คือ กลุ่มดาวแมงป่อง เป็นกลุ่มดาวใน 12 ราศีกลุ่มเดียว ที่มีรูปร่างเหมาะสมเหมือน ชื่อที่สุด มีส่วนหัว ส่วนตัว ส่วนหาง และจงอยของหางเหมือนแมงป่องจริง ๆ กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มดาวที่สวยงามที่สุด ในบรรดากลุ่มดาว 12 ราศี ดาวฤกษ์ Antares ซึ่งเป็นหัวใจของแมงป่องมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 400 ล้านไมล์ กลุ่มดาวแมงป่อง จะเห็นอยู่ตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 20 กรกฎาคม ในต้นเดือนพฤศจิกายน พอดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป จะเห็นกลุ่มดาวแมงป่อง ทางขอบฟ้าทิศตะวันตกใกล้จะตกจากขอบฟ้าไป ในตอนต้นเดือนกุมภาพันธ์ จะเห็นอยู่เหนือขอบฟ้าทิศตะวันออก เมื่อเวลาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น นักเรียนที่ตื่นท่องหนังสือเตรียมสอบไล่ ถ้าดูจะสังเกตเห็นทุกคน กลุ่มดาวแมงป่อง เป็นกลุ่มดาวที่มนุษย์รู้จักมาแต่ดึกดำบรรพ์ การใช้ชื่อว่ากลุ่มดาว สคอร์ปีอุส (Scorpius) เพราะในสมัยโบราณ เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ ปรากฏมาอยู่ในกลุ่มดาวนี้ ปรากฏว่าในประเทศอิยิปต์ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บใด ๆ เกิดขึ้นเลย
    กลุ่มดาวนี้ขึ้นพร้อมๆ กับดวงอาทิตย์ในตอนเช้าของเดือนพฤศจิกายน เป็นกลุ่มดาวที่มีดาวฤกษ์เรียงตัวกันอย่างน้อย 15 ดวง จะปรากฏทางทิศตะวันออกเฉียงใต้โดยเอาหัวขึ้นก่อน เมื่อขึ้นสูงสุดจะอยู่ทางทิศใต้ และตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้โดยเอาหัวและข้างลงก่อน จะเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏผ่านกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน- 17 ธันวาคม
    กลุ่มดาวประจำวันเกิด
    ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5 ในระบบสุริยะ มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วัน[nb 1] เมื่อเปรียบเทียบการแปรคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบทุกๆ ช่วง 29.5 วัน[nb 2] (เรียกว่า คาบไซโนดิก)

  44. ด.ญ. กมลวรรณ ไชยวุฒิ เลขที่12 ม.3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด ดาวอังคาร
    ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 4 ชื่อละตินของดาวอังคาร (Mars) มาจากชื่อเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของกรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสีโลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า “ดาวแดง” หรือ “Red Planet” (ความจริงมีสีค่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า) ชื่อจีน เป็น 火星 ความหมายว่าดาวไฟเพาระสีส้มของมัน สัญลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เป็นโล่และหอกของเทพเจ้ามาร์ส ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน
    ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบริเวณน้ำแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขาที่สูงที่สุดในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า มาริเนริส (Marineris) ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพิมพ์ลงในนิตรสาร “Nature” เกี่ยวกับหลักฐานของหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่มหึมา โดยมีความกว้าง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 กิโลเมตร[3][4] นอกจากนั้นสิ่งที่ดาวอังคารมีและคล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตัวเองและฤดูกาล

    ดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวในจักราศีที่ 1 หรือกลุ่มดาวราศีเมษ คือ กลุ่มดาวแกะตัวผู้ ดาวกลุ่มนี้สังเกตได้ง่าย มีดาวสว่างสุกปลั่งอยู่ตรงหัวแกะ 3 ดวง มีรูปคล้ายสามเหลี่ยมมุมป้าน กลุ่มดาวราศีเมษหรือกลุ่มดาวแกะ จะเห็นอยู่ตรงศีรษะเมื่อเวลา 3 ทุ่ม ในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี มีหลักการสังเกตง่าย ๆ สำหรับหาดาวกลุ่มนี้ คือ ดูจากกลุ่มดาวลูกไก่ เมื่อเห็นกลุ่มดาวลูกไก่แล้วมองไปทางทิศตะวันตก ใกล้ ๆ กลุ่มดาวลูกไก่จะเห็นกลุ่มดาวสามเหลี่ยมมุมป้าน ซึ่งเป็นหัวแกะได้ โดยง่าย และเมื่อมองไปทางทิศตะวันตกจะเห็นกลุ่มดาวม้า

    กลุ่มดาวนี้ขึ้นพร้อมๆ กับดวงอาทิตย์ในตอนเช้าช่วงเดือนเมษายน เราจะเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏผ่านกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 19 เมษายน-13 พฤษภาคม ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อยจำนวน 4 ดวง

  45. นิรนาม พูดว่า:

    Fill in your details below or click an icon to log in:

  46. ด.ช.พุฒิชัย พันธ์พืช เลขที่6 ม.3/1 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวศุกร์ (Venus)เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า “น้องสาว” ของโลก วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า “ดาวประจำเมือง” และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า “ดาวประกายพรึก” หรือ “ดาวรุ่ง” อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน

    ดาวประจำราศี
    กลุ่มดาวราศีมีน หรือ กลุ่มดาวปลา (PISCES)มีลักษณะคล้ายปลาสองตัว ตัวหนึ่งอยู่ถัดจากรูปสี่เหลี่ยมในกลุ่มดาวม้าปีก ไปทางใต้อีกตัวหนึ่งอยู่ถัดไปทางทิศตะวันออก ปลาทั้งคู่ มีสายเชื่อมโยงกันถึงได้ประกอบด้วยดาวฤกษ์ประมาณ 15 ดาว จะปรากฎผ่านในกลุ่มดาวปลา ระหว่างวันที่ 13 มีนาคม – 19เมษายน ดาวอาทิตย์จะอยู่ในเส้นศูนย์สูตรฟ้าพอดี ในวันที่21มีนาคม จะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ ขึ้นทางทิศตะวันออกพอดี และตกทางทิศตะวันตกพอดี เรียกว่า “วันอิควิดนอกซ์” (equinox) กลางวันยาวกว่ากลางคืน กลุ่มดาวปลาจะปรากฎอยู่บนท้องฟ้านาน 9 ชั่วโมง

  47. ด.ญ.ปิยะฉัตร ไชยวุฒิ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 23 พูดว่า:

    ราศีเมษป็นราศีแรกตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีมีนกับราศีพฤษภ มีสัญลักษณ์เป็นแกะตัวผู้ ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีเมษนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 21 มีนาคม ถึง 20 เมษายน ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 15 เมษายน ถึง 15 พฤษภาคม
    ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มีน้ำแข็งปะปน สัญลักษณ์แทนดาวเสาร์ คือ ♄

    ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก

  48. ด.ญ.วัชรีภรณ์ แก้วน้อย ม.3/1 เลขที่32 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) มาจากเทพเจ้าโรมัน สัญลักษณ์แทนดาวพฤหัสบดี คือ ♃ เป็นสายฟ้าของเทพเจ้าซุส
    ดาวประจำราศี กลุ่มดาวสิงโต ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 9 ดวง ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านกลุ่มดาวราศีสิงห์ระหว่างวันที่ 11 สิงหาคม ถึง 17 กันยายน เป็นกลุ่มดาวที่สังเกตได้ง่ายบนฟ้า เพราะมีดาวฤกษ์ดวงใหญ่สีน้ำเงินขาวสว่างที่สุดในกลุ่มดาวนี้ 1 ดวง อยู่ตรงบริเวณหน้าอกของสิงโต เรียกว่า ดาวเรกิวลุส ( REGULUS) หรือ ดาวหัวใจสิงห์และ ตรงปลายหางของสิงโตจะมีดาวฤกษ์สว่างสีขาวอีก 1 ดวง เรียกว่า ดาวหางสิงห์ (DENEBOLA) กลุ่มดาวสิงโต เป็นกลุ่มดาวอันดับที่ห้าของกลุ่มดาวจักรราศี เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในแนวสุริยวิถีที่สังเกต และจดจำได้ง่ายโดยรูปสิงโตของกลุ่มดาวสิงโต จะหันหน้าไปทางทิศตะวันตก โดยมีดาวฤกษ์สุกสว่างคือ ดาวเรกูลัส ซึ่งจะอยู่ตรงตำแหน่งหัวใจของสิงโต จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ดาวหัวใจสิงห์ ซึ่งเป็นดาวหนึ่งในสี่ของดาวราชาทั้งสี่ (The Four Royal Stars) ซึ่งประกอบด้วย ดาวหัวใจสิงห์ ดาวตาวัว ดาวปาริชาต และดาวโฟมาออท ซึ่งแต่ละดวงจะแบ่งเส้นรอบวงท้องฟ้าออกเป็น 4 ส่วน โดยอยู่ห่างพอๆกันประมาณครึ่งท้องฟ้า (90 องศา) ทำให้เรามองเห็นดาวราชาอย่างน้อย 1 คู่เสมอ Denebola ดาวเดเนโบลา ชื่อดาว หมายถึง หางสิงโต (The lion’s tail) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งหางสิงโตพอดีโดยดาว Denebola เป็นดาวคู่เช่นกันแต่ไม่สามารถเห็นดาวคู่ได้ด้วยกล้องดูดาวขนาด นอกจากนี้เราสามารถเห็นฝนดาวตกสิงโต (Leonid Meteor Shower) ได้ตรงตำแหน่งประมาณ 2 องศาไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของดาวดวงนี้โดยจะเห็นมากสุดทุก 33 ปีโดยครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ.2542 (ค.ศ.1999)

  49. ด.ญ.วัชรีภรณ์ แก้วน้อย ม.3/1 เลขที่32 พูดว่า:

    กลุ่มดาวสิงโต ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 9 ดวง ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านกลุ่มดาวราศีสิงห์ระหว่างวันที่ 11 สิงหาคม ถึง 17 กันยายน เป็นกลุ่มดาวที่สังเกตได้ง่ายบนฟ้า เพราะมีดาวฤกษ์ดวงใหญ่สีน้ำเงินขาวสว่างที่สุดในกลุ่มดาวนี้ 1 ดวง อยู่ตรงบริเวณหน้าอกของสิงโต เรียกว่า ดาวเรกิวลุส ( REGULUS) หรือ ดาวหัวใจสิงห์และ ตรงปลายหางของสิงโตจะมีดาวฤกษ์สว่างสีขาวอีก 1 ดวง เรียกว่า ดาวหางสิงห์ (DENEBOLA) กลุ่มดาวสิงโต เป็นกลุ่มดาวอันดับที่ห้าของกลุ่มดาวจักรราศี เป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในแนวสุริยวิถีที่สังเกต และจดจำได้ง่ายโดยรูปสิงโตของกลุ่มดาวสิงโต จะหันหน้าไปทางทิศตะวันตก โดยมีดาวฤกษ์สุกสว่างคือ ดาวเรกูลัส ซึ่งจะอยู่ตรงตำแหน่งหัวใจของสิงโต จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ดาวหัวใจสิงห์ ซึ่งเป็นดาวหนึ่งในสี่ของดาวราชาทั้งสี่ (The Four Royal Stars) ซึ่งประกอบด้วย ดาวหัวใจสิงห์ ดาวตาวัว ดาวปาริชาต และดาวโฟมาออท ซึ่งแต่ละดวงจะแบ่งเส้นรอบวงท้องฟ้าออกเป็น 4 ส่วน โดยอยู่ห่างพอๆกันประมาณครึ่งท้องฟ้า (90 องศา) ทำให้เรามองเห็นดาวราชาอย่างน้อย 1 คู่เสมอ Denebola ดาวเดเนโบลา ชื่อดาว หมายถึง หางสิงโต (The lion’s tail) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งหางสิงโตพอดีโดยดาว Denebola เป็นดาวคู่เช่นกันแต่ไม่สามารถเห็นดาวคู่ได้ด้วยกล้องดูดาวขนาด นอกจากนี้เราสามารถเห็นฝนดาวตกสิงโต (Leonid Meteor Shower) ได้ตรงตำแหน่งประมาณ 2 องศาไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของดาวดวงนี้โดยจะเห็นมากสุดทุก 33 ปีโดยครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ.2542 (ค.ศ.1999)

  50. ด.ช.ศราวุธ แววงาม ม.3/3 เลขที่ 17 พูดว่า:

    ดาวประจำวันเกิด
    ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นอันดับที่ 4 ในบรรดาดาวเคราะห์ทั้งหมด ดาวอังคารมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 เท่าของโลก ดาวอังคารมีโครงสร้างภายในประกอบด้วยแก่นของแข็งมีรัศมีประมาณ 1,700 กิโลเมตร ห่อหุ้มด้วยชั้นแมนเทิลที่เป็นหินหนืดหนาประมาณ 1,600 กิโลเมตร และมีเปลือกแข็งเช่นเดียวกับโลก ดาวอังคารมีสีแดงเนื่องจากพื้นผิวประกอบด้วยออกไซด์ของเหล็ก (สนิมเหล็ก) พื้นผิวของดาวอังคารเต็มไปด้วยหุบเหวต่างๆ มากมาย หุบเหวขนาดใหญ่ชื่อ หุบเหวมาริเนอริส (Valles Marineris) มีความยาว 4,000 กิโลเมตร กว้าง 600 กิโลเมตร ลึก 8 กิโลเมตร นอกจากนี้ดาวอังคารยังมีภูเขาไฟที่สูงที่สุดในระบบสุริยะชื่อ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Mount Olympus) สูง 25 กิโลเมตร ฐานที่แผ่ออกไปมีรัศมี 300 กิโลเมตร มีบรรยากาศเบาบางมาก ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ซึ่งเกิดจากการระเหิดของน้ำแข็งแห้ง

    ดาวประจำราศี
    ราศีพิจิก หรือ ราศีพฤศจิก (อังกฤษ: Scorpius, Scorpio จากละติน: scorpius, scorpiō แปลว่า “แมงป่อง”) เป็นราศีที่ 8 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีตุลกับราศีธนู มีสัญลักษณ์เป็นแมงป่อง (บางตำราเป็นนกอินทรีหรืองู)[ต้องการอ้างอิง] ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีพิจิกนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 24 ตุลาคม ถึง 22 พฤศจิกายน ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 พฤศจิกายน ถึง 15 ธันวาคม

ใส่ความเห็น